Page 56 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 56

9-46 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา

4. การ​ดำ�เนนิ ก​ าร​ประเมิน (Assessment)

       กิจกรรม​สำ�คัญ​ที่​ต้อง​ปฏิบัติ​ใน​ขั้น​ตอน​การ​ประเมิน ประกอบ​ด้วย การ​กำ�หนด​ตัวผู้​ประเมิน​ซึ่ง​อาจ​
มา​จาก​ภายใน​และ​ภายนอก​องค์การ โดยเ​ฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ต้อง​เป็น​ผู้​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​วัด​และ​ประเมิน มี​ความ​
เข้าใจ​ใน​เรื่องพ​ ฤติกรรมก​ ารป​ ฏิบัติ​ของ​บุคคลห​ รือ​เกี่ยว​กับ​สมรรถนะข​ อง​บุคคล เพื่อจ​ ะ​ได้​เข้าใจ​ใน​ข้อมูล​ทั้ง​
ที่​เห็น​ได้​และ​อยู่​ภายใน​ตัว​บุคคล ผู้​เชี่ยวชาญ​เหล่า​นั้น​จะ​เป็น​ผู้​ตัดสิน​ว่า​บุคคล​ที่​ถูก​ประเมิน​ว่า​มี​สมรรถนะ​
อยู่ใ​นร​ ะดับใ​ด​ตามเ​กณฑ์ท​ ี่ก​ ำ�หนดไ​ว้ ซึ่ง​พฤติกรรมบ​ างอ​ ย่างย​ ากต​ ่อ​การป​ ระเมิน​ว่าอ​ ยู่ใ​น​ระดับ​ใด ดังน​ ั้น ผู้​
ประเมิน​จะต​ ้องไ​ด้​รับ​การ​อบรมแ​ ละ​ฝึกฝน​ในเ​รื่องน​ ั้น​เป็น​อย่าง​ดี

       การ​กำ�หนด​วิธีก​ ารป​ ระเมินก​ ็เ​ป็น​เรื่องท​ ี่ก​ ำ�หนด​ใน​ขั้นต​ อนน​ ี้ เช่น จะ​ใช้ก​ ารส​ ัมภาษณ์ สังเกต ตรวจ​
สอบ​ผล​งาน​หรือ​ใช้​วิธี​การ​ทดสอบ​ก็​เป็น​เรื่อง​ที่​ต้อง​กำ�หนด​ให้​ชัดเจน​และ​เหมาะ​สม​กับ​ผู้​ถูก​ประเมิน และ​
ตำ�แหน่ง​หน้าที่ข​ องบ​ ุคคล​ที่​ต้องถ​ ูกป​ ระเมิน เช่น ระดับ​ผู้จ​ ัดการ​และ​ระดับเ​จ้า​หน้าที่ค​ ง​ต้อง​ใช้ว​ ิธี​การแ​ ตก​ต่าง​
กัน เป็นต้น

       การ​กำ�หนด​เกณฑ์ (criteria) ใน​การ​ประเมิน​เป็น​เรื่อง​จำ�เป็น​เพื่อ​ประเมิน​ค่า​ระดับ​ของ​สมรรถนะ​ที่​
บุคคลแ​ สดง​พฤติกรรมอ​ อกม​ า เช่น มีร​ ะดับส​ มรรถนะ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 เป็นต้น หรือบ​ าง​
แบบท​ ดสอบอ​ าจก​ ำ�หนดร​ ะดับส​ มรรถนะไ​ว้ต​ ั้งแต่ร​ ะดับ 1-5 หรือ 1-3 ก็แ​ ล้วแ​ ต่ละแ​ บบท​ ดสอบห​ รือก​ ำ�หนดค​ ่า​
ระดับต​ าม​ลักษณะส​ มรรถนะ​ที่​จะป​ ระเมิน เช่น ถ้า​หากแ​ บ่งเ​ป็น 5 ระดับ​แล้ว​เกณฑ์ใ​น​การป​ ระเมินส​ มรรถนะ​
เกี่ยว​กับง​ าน​จะ​มี​เกณฑ์ใ​นก​ ารป​ ระเมิน ดังนี้

       ระดับ 1	 - Novice (ระดับ​ฝึกหัด) หมายถ​ ึงบ​ ุคคล​ที่บ​ รรจุ​ใหม่ สามารถท​ ำ�งาน​ได้แ​ ต่ไ​ม่ถ​ ึง​มาตรฐาน​
หรือ​เกณฑ์​ที่​กำ�หนด ต้อง​อาศัยก​ ารแ​ นะนำ�​และ​ช่วยเ​หลือต​ ลอดเ​วลา

       ระดับ 2	 - Learner (ระดับ​เรียน​รู้) หมาย​ถึง​บุคคล​ที่​ทำ�งาน​เริ่ม​ต้น สามารถ​ทำ�งาน​ได้​แต่​ยัง​ไม่​ถึง​
มาตรฐาน ต้องการค​ ำ�​แนะนำ�​และช​ ่วย​เหล​ ือบ​ ่อยๆ

       ระดับ 3	 - Proficient (ระดับป​ ฏิบัตงิ​ านไ​ ด้) หมายถ​ ึงบ​ ุคคลท​ ีม่​ ปี​ ระสบการณแ์​ ละส​ ามารถป​ ฏิบัตงิ​ าน​
ได้​ตามม​ าตรฐานท​ ี่​กำ�หนดแ​ ละต​ ้องการค​ ำ�​แนะนำ�​ช่วย​เหลือ​ตามป​ กติแ​ ก่ง​ าน ไม่ต​ ้องช​ ่วยเ​หลือ​มาก​นัก

       ระดับ 4	 - Professional (ระดับ​ชำ�นาญ​การ) หมายถ​ ึงบ​ ุคคลท​ ี่ม​ ีป​ ระสบการณ์ด​ ี สามารถ​ทำ�งานไ​ด้​
ตาม​มาตรฐาน​ที่ก​ ำ�หนด โดย​ไม่ต​ ้อง​ให้ค​ ำ�​แนะนำ�​ช่วย​เหลือ

       ระดับ 5	 - Expert (ระดับ​เชี่ยวชาญ) หมายถ​ ึง​บุคคลท​ ี่​ได้ร​ ับ​การย​ อมรับใ​น​ความส​ ามารถ ทำ�งานไ​ด​้
เกิน​มาตรฐานด​ ้วย​ตนเอง และส​ ามารถ​สอน​หรือแ​ นะนำ�​คน​อื่นไ​ด้

       สำ�หรับ​เกณฑ์​ใน​การ​ประเมิน​สมรรถนะ​ด้าน​อื่นๆ เช่น Core Competency และ Managerial
Competency ก็​ดำ�เนิน​การ​กำ�หนด​ใน​แนวทาง​เดียวกัน​แต่ใ​ช้​คำ�​ที่​กำ�หนด​ระดับ​และ​คำ�​อธิบาย​ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน
และค​ วร​กำ�หนดจ​ ำ�นวน​ระดับ​ให้​เท่าก​ ัน เช่น มีร​ ะดับ 5 ระดับเ​ท่า​กัน​ในก​ ารป​ ระเมินส​ มรรถนะ​ทุกป​ ระเภทท​ ั้ง​
สมรรถนะ​ใน​งาน และส​ มรรถนะท​ าง​พฤติกรรม​แล้ว​จะ​ทำ�ให้ก​ าร​วิเคราะห์​และ​การเ​ปรียบ​เทียบไ​ด้ง​ ่าย​ขึ้น
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61