Page 59 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 59

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-49

       จาก​ภาพ​ที่ 9.16 เมื่อ​ได้​ผล​การ​ประเมิน​สมรรถนะ​บุคลากร​ใน​องค์การ​แล้ว องค์การ​สามารถ​นำ�​ไป​
เชื่อม​โยง (linkage) หรือผ​ นึก (mapping) เข้าก​ ับแ​ ผนการ​บริหารท​ รัพยากรบ​ ุคคลข​ องอ​ งค์การเ​พื่อน​ ำ�​ไป​สู​่
การป​ รบั ปรุงแ​ ละพ​ ฒั นาต​ ัวบ​ คุ ลากร และง​ านด​ า้ นบ​ คุ ลากรไ​ดท​้ ั้งใ​นเ​รือ่ งก​ ารพ​ ัฒนาส​ มรรถนะ การเ​ปลี่ยนแปลง​
ต�ำ แหนง่ ง​ าน การป​ ระเมนิ ผ​ ลก​ ารป​ ฏบิ ตั ง​ิ าน การก​ �ำ หนดค​ า่ จ​ า้ งแ​ ละค​ า่ ต​ อบแทน ฯลฯ แลว้ ม​ ก​ี ารว​ ดั แ​ ละป​ ระเมนิ ​
ผล​การป​ ฏิบัติง​ าน และป​ ระเมินส​ มรรถนะ​ของ​บุคลากร​เป็นร​ ะ​ยะๆ และ​ต่อ​เนื่อง เพื่อ​ให้​เกิด​ผล​ใน​การพ​ ัฒนา​
ระยะย​ าวใ​นอ​ งค์การ

       อนึ่ง ผล​การ​ประเมิน​สมรรถนะ​บุคลากร จะ​นำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​งาน​บุคคล​ได้​ใน​กิจกรรม​
ต่างๆ ในก​ าร​บริหารง​ านบ​ ุคคลไ​ด้ ดังนี้

       (1) 	ใช้ป​ ระโยชน์​ใน​การ​จัด​บุคคล​เข้า​สู่​ตำ�แหน่ง (matching people to positions) เป็นการเ​ลือกค​ น​
ให้เ​หมาะส​ มก​ ับง​ านท​ ี่ป​ ฏิบัติท​ ั้งเ​รื่องค​ วามย​ ากง​ ่ายข​ องง​ านแ​ ละค​ วามถ​ นัด ความร​ ู้ ความส​ ามารถใ​นง​ าน ตลอด​
จน​พฤติกรรม​การท​ ำ�งาน โดยเ​ฉพาะ​ผล​การ​ประเมินด​ ้าน Functional competency จะ​มี​ประโยชน์โ​ดยตรง​
ต่อ​การ​จัด​คน​เข้า​สู่​ตำ�แหน่ง​ต่างๆ ที่​มี​อยู่​ใน​องค์การ โดย​พิจารณา​ใน​เรื่อง​สมรรถนะ​ที่​เขา​มี​อยู่​ให้​เหมาะ​กับ​
ประเภท​งาน​และ​ระดับ​ความ​ยาก​ง่าย​ของ​งาน เพื่อ​เป็น​หลัก​ประกัน​ความ​มั่นใจ​ว่า บุคคล​นั้น​จะ​ปฏิบัติ​งาน​ได้​
สำ�เร็จ

       (2) 	ใช้เ​ป็นฐ​ านส​ มรรถนะใ​นก​ าร​ฝึกอ​ บรมแ​ ละ​พัฒนาบ​ ุคลากร (competency based training and
development) โดย​ประเด็น​นี้​จะ​เป็นการ​ใช้​ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​ระดับ​สมรรถนะ​และ​ประเภท​สมรรถนะ​ที่​เขา​มี​อยู่​
ในป​ ัจจุบัน (Current Competency Level - CCL) เป็นฐ​ าน​ในก​ ารว​ ิเคราะห์​ความแ​ ตกต​ ่าง (gap) กับร​ ะดับ​
สมรรถนะท​ ี่​จำ�เป็น​ขั้น​ตํ่า​สำ�หรับ​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​ตำ�แหน่ง​หน้าที่​และ​ภารกิจ​ที่​ปฏิบัติ (Required Compe-
tency Level-RCL) ซึ่ง (gap = RCL-CCL) โดยน​ ำ�​ช่อง​ว่าง​หรือ​ความแ​ ตกต​ ่าง​ระหว่าง​ระดับส​ มรรถนะ​นี้​ไป​
เป็นแ​ นวทางใ​นก​ ารจ​ ัดห​ ลักสูตรก​ ารฝ​ ึกอ​ บรมแ​ ละค​ ัดเ​ลือกบ​ ุคลากร เข้าร​ ับก​ ารฝ​ ึกอ​ บรม เพื่อพ​ ัฒนาส​ มรรถนะ​
ของ​เขา​ให้​สูง​กว่า​หรือ​เท่า​เกณฑ์​ที่​กำ�หนด​หรือ​สูง​กว่า​มาตรฐาน​ที่​กำ�หนด อัน​จะ​นำ�​เขา​ไป​สู่​การ​เป็น Superior
Performer หรือผ​ ู้​มี​ผลง​ าน​ดี​เด่น​หรือม​ ีผ​ ลง​ าน​สูงก​ ว่า​บุคคล​อื่น

       (3) 	ใช้เ​ป็นฐ​ านใ​น​การป​ รับปรุงร​ ะบบง​ าน​บุคคล (carreer management) เช่น การก​ ำ�หนดแ​ นวทาง​
ใน​การส​ ร้าง​ความ​ก้าวหน้า​ใน​งาน การค​ ัด​เลือก​บุคลากร การ​วัด​และ​ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน การบ​ ำ�เหน็จ​
ความช​ อบห​ รือร​ ะบบ​การจ​ ่ายค​ ่า​ตอบแทนแ​ ละ​การ​จัด​แผน​งานบ​ ุคคลใ​น​ด้าน​ต่างๆ

       (4) 	ใช้เ​ป็นฐ​ านใ​นก​ ารบ​ ริหารผ​ ลง​ าน (performance management) การก​ ำ�หนด​อัตรา​เงินเ​ดือน ขั้น​
เงินเ​ดือน​หรือก​ ำ�หนด​ระดับ​และ​ขั้น​เงิน​เดือน​ในก​ ารพ​ ิจารณา​ความ​ดี​ความ​ชอบ ทำ�ให้​เกิด​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​
ให้​กับ​ผู้​มี​ผล​งาน​ดี​หรือ​มี​ผล​งาน​สูง​อย่าง​เหมาะ​สม​และ​แตก​ต่าง​จาก​ผู้​มี​ผล​งาน​ใน​ระดับ​ปกติ (Average
Performer) เพื่อ​ให้เ​กิด​ความเ​ป็น​ธรรม​ใน​การพ​ ิจารณา​ค่า​ตอบแทนจ​ าก​ผล​งาน

       (5) 	ใช้เ​ป็นฐ​ าน​ในก​ าร​จ่ายค​ ่าท​ ดแทนห​ รือ​ค่าช​ ดเชย (compensation) อาจมอ​ ง​ได้ 2 ทาง คือ บุคคล​
นั้นป​ ัจจุบันไ​ด้ค​ ่าต​ อบแทนห​ รือค​ ่าจ​ ้างส​ ูงก​ ว่าท​ ี่เ​ขาม​ ผี​ ลง​ าน อาจต​ ้องม​ กี​ ารป​ รับปรุง​หรือบ​ างค​ นม​ คี​ วามส​ ามารถ​
พิเศษ​สูง​กว่า​งาน​หรือ​นอก​เหนือ​จาก​งาน​ปกติ​และ​ความ​สามารถ​นั้น​ส่ง​ผล​ดี​ต่อ​องค์การ ก็​ควร​ได้​รับ​การ​
ตอบแทนห​ รือ​ชดเชย​ผลง​ าน​ที่ม​ ีต​ ่อ​องค์การเ​พิ่มข​ ึ้น
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64