Page 68 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 68

9-58 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา

ระบุผ​ ลลัพธ์/ผลส​ ัมฤทธิ์​ตาม​เป้าห​ มาย​ของแ​ ต่ละภ​ าระ​งานห​ รือ​ตำ�แหน่ง​หน้าที่ (2) กำ�หนดค​ วามร​ ู้ ทักษะ​และ​
ประสบการณ์ท​ ี่จ​ ำ�เป็นใ​นก​ ารป​ ฏิบัติง​ านใ​ห้ป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จใ​นแ​ ต่ละต​ ำ�แหน่ง และ (3) วิเคราะห์​ออกม​ าเ​ป็น​
สมรรถนะ​ที่​จำ�เป็น​ที่​บุคคล​ต้อง​มี​หรือ​จำ�เป็น (required competency) เพื่อ​การ​ปฏิบัติ​งาน​นั้น​ใน​ตำ�​แหน่​ง​
นั้นๆ ให้ม​ ีผ​ ลส​ ำ�เร็จ โดยจ​ ำ�แนก​เป็นร​ ะดับต​ ่างๆ ของ​พฤติกรรม​ในแ​ ต่ละส​ มรรถนะ

       ในก​ ารป​ ระเมินส​ มรรถนะบ​ ุคลากรใ​นห​ น่วยง​ านต​ ้นแบบ สำ�นักงาน ก.พ. ได้​จัดท​ ำ�​โครงการค​ วามร​ ่วม​
มือก​ ับ​หน่วยง​ านต​ ้นแบบ​และบ​ ริษัท เฮย์ กรุ๊ป จำ�กัด ใช้เ​วลา​ทดลองแ​ ละป​ รับปรุงต​ ัว​แบบ รายการ​สมรรถนะ​
และป​ ระเมินพ​ ฤติกรรมต​ ามส​ มรรถนะ​ที่พ​ ึงม​ ี จน​กระทั่ง​ประสบค​ วามส​ ำ�เร็จ​และเ​ชื่อ​ถือ​ได้ สำ�นักงาน ก.พ. จึง​
ได้น​ ำ�​รายการ​สมรรถนะ และร​ ะดับ​สมรรถนะ​ที่​ประเมิน​ได้ม​ าเ​ปรียบเ​ทียบก​ ับร​ ะดับ​สมรรถนะ​ที่ค​ วร​มีห​ รือพ​ ึง​
ประสงค์ และ​นำ�​มา​ใช้​ในก​ ารจ​ ำ�แนก​ตำ�แหน่ง​และ​กำ�หนด​ค่า​ตอบแทน (ระบบเ​งินเ​ดือน​ราชการ) ซึ่ง​ได้น​ ำ�​มาใ​ช้​
แล้วใ​น​ปัจจุบัน และ​เพื่อน​ ำ�​ไปใ​ช้ใ​น​การพ​ ัฒนา​บุคลากร​ให้ม​ ีร​ ะดับ​สมรรถนะ​สูงข​ ึ้นใ​ห้ถ​ ึง​ระดับ​ที่ต​ ้องการ รวม​
ทั้งน​ ำ�​ไป​ใช้ใ​นก​ าร​พิจารณา​ความ​ดี ความช​ อบ และ​การนำ�​มา​กำ�หนดเ​งินเ​พิ่ม​พิเศษใ​ห้ก​ ับ​ข้าราชการแ​ ละห​ น่วย​
งาน​ด้วย

       อนึ่ง ใน​การก​ระ​จาย​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ตาม​โครงการ​นี้ สำ�นักงาน ก.พ. ได้​ให้​หน่วย​งาน​ต่างๆ ทุก​
ระดับ​ใน​ภาคร​ าชการ นำ�​สมรรถนะห​ ลักข​ องร​ าชการ​ไทย 5 ประการ ที่​สำ�นักงาน ก.พ. ได้​ศึกษาจ​ าก​วิสัยท​ ัศน์
พันธ​กิจ และค​ ่า​นิยม​หลัก​ของง​ านร​ าชการ​ไทยท​ ั่ว​ประเทศว​ ่า ควรม​ ี 5 สมรรถนะ ได้แก่

            -	 การม​ ุ่งผ​ ลส​ ัมฤทธิ์ (achievement motivation)
            -	 การ​บริการ​ที่ด​ ี (service mind)
            -	 การ​สั่งสม​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​งาน​อาชีพ (expertise)
            -	 จริยธรรม (integeity)
            -	 ความร​ ่วม​แรง​ร่วมใจ (team)
       ไป​ใช้​ใน​การ​บริหาร​สมรรถนะ​ทรัพยากร​บุคคล​ของ​องค์การ​ใน​หน่วย​งาน​ของ​ตน​ต่อ​ไป​ด้วย ส่วน​
สมรรถนะป​ ระจ�ำ ​กลุม่ ง​ านใ​หห​้ นว่ ยง​ านต​ า่ งๆ เลอื กใ​ชไ้ ดต​้ ามเ​หมาะส​ มก​ บั ภ​ ารกจิ ห​ นา้ ทที​่ มี​่ อ​ี ยใู​่ นแ​ ตล่ ะอ​ งคก์ าร/
หน่วยง​ าน ซึ่ง​มี​ลักษณะข​ องภ​ ารกิจใ​นง​ านท​ ี่ แตกต​ ่างก​ ัน รวม​ทั้ง​ให้เ​ลือกใ​ช้​สมรรถนะ​ที่ส​ ำ�นักงาน ก.พ. จัด​ทำ�​
ไว้ใ​ห้เ​หมาะ​สม​กับ​ระดับ​งาน/ระดับต​ ำ�แหน่งด​ ้วย เช่น ในก​ ลุ่ม​งาน​ผู้บ​ ริหาร​ระดับ​สูงไ​ด้​กำ�หนด​ให้​มี​สมรรถนะ​
ที่​จำ�เป็น​ไว้ 5 ประการ​เพิ่ม​เติม​จาก​การ​กำ�หนด​สมรรถ​นะ​อื่นๆ คือ​ผู้​บริหาร​ระดับ​สูง​ต้อง​มี​สมรรถนะ​ใน 5
สมรรถนะ​หลัก ได้แก่
            -	 วิสัย​ทัศน์ (visioning)
            -	 การ​วางก​ ลยุทธ์ภ​ าค​รัฐ (strategic orientation)
            -	 ศักยภาพ​เพื่อน​ ำ�​การป​ รับ​เปลี่ยน (change leadership)
            -	 การ​ควบคุม​ตนเอง (self-control)
            -	 การใ​ห้อ​ ำ�นาจ​ผู้​อื่น (empowering others)
       สว่ นส​ มรรถน​ ะอ​ ืน่ ๆ ในร​ ะดบั ห​ นว่ ยง​ าน/ฝา่ ย/แผนก ใหห้​ นว่ ยง​ านท​ นี​่ �ำ ​เรือ่ งก​ ารบ​ รหิ ารส​ มรรถนะไ​ปใ​ช​้
สามารถก​ ำ�หนดท​ ั้ง core competency และ functional/job competency ได้ต​ าม​ความเ​หมาะส​ ม​แต่ละ​
องค์การ/หน่วย​งาน​ใน​ขอบเขต​แห่ง​ภารกิจ​และ​ความร​ ับ​ผิดข​ อง​องค์การ/หน่วย​งานน​ ั้นๆ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73