Page 71 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 71

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-61

ความร​ ับ​ผิด​ชอบ​ต่อส​ ังคม จากค​ ่าน​ ิยม “การ​ให้ค​ ุณค่าข​ องพ​ นักงาน” จึง​หมายถ​ ึง​ความ​มุ่ง​มั่นข​ อง​องค์กร​ใน​
การ​สร้าง​ความ​พึง​พอใจ การ​พัฒนา​ความ​สามารถ​และ​ศักยภาพ ให้​ก้าวหน้า​ไป​พร้อม​กับ​องค์การ​และ​ความ​
ผาสุก​ของพ​ นักงาน เพื่อ​ให้​พนักงาน​มี​ความ​พร้อม​และ​เกิดแ​ รง​จูงใจ​ใน​การป​ ฏิบัติ​งาน​ให้​บรรลุ​ตาม​วิสัย​ทัศน์
พันธ​กิจ และ​แผนก​ ลยุทธ์​การ​ดำ�เนินธ​ ุรกิจท​ ี่ บริษัทฯ กำ�หนด

       บริษัท​ผลิตภัณฑ์​กระดาษ​ไทย จำ�กัด ได้​มี​การ​พัฒนา​บุคลากร​มา​โดย​ลำ�ดับ และ​ให้​ความ​สำ�คัญ​
แก่​งานด​ ้าน​นี้​เป็น​อย่าง​ยิ่ง โดยเ​ริ่ม​จากป​ ี 2537 บริษัท ได้​นำ�​ระบบ​บริหารค​ ุณภาพ​โดยร​ วม (Total Quality
Management-TQM) มาใ​ชใ้​นก​ ารบ​ ริหารง​ านใ​นอ​ งค์การ โดยใ​นช​ ่วงว​ ิกฤตท​ างเ​ศรษฐกิจใ​นป​ ี 2540 บริษัทไ​ด​้
มีก​ าร​ปรับต​ ัวอย่าง​ขนาน​ใหญ่เ​พื่อค​ วามอ​ ยู่​รอด​และม​ าฟ​ ื้นต​ ัวอ​ ีก​ครั้ง ในป​ ี 2546 และใ​น​ปี 2546 นี้เ​อง บริษัทฯ
ได้​นำ�​แนวคิดก​ ารพ​ ัฒนาท​ รัพยากรบ​ ุคคล​บน​สมรรถนะ (competency-based development) เข้า​มา​ใช้​ใน​
การพ​ ัฒนาบ​ ุคลากรอ​ ย่างเ​ป็นท​ างการ โดยก​ ารพ​ ัฒนาบ​ ุคลากรข​ อง​ บร​ ิษัทฯ ไดผ้​ ่านก​ ระบวนการว​ ิเคราะหส์​ ภาพ​
แวดล้อมท​ าง​ธุรกิจท​ ั้ง​ปัจจัย​ภายในแ​ ละภ​ ายนอกอ​ งค์การ โดย​มีก​ ารเ​ชื่อม​โยงก​ ับท​ ิศทางก​ ารด​ ำ�เนินธ​ ุรกิจข​ อง​
บริษัทอ​ ย่าง​แท้จริง

       ใน​การ​พัฒนา​บุคลากรบ​ นร​ ะบบ​สมรรถนะ (competency-based HRD model) นั้น บริษัทฯ ได้​
กำ�หนด​กลุ่ม​สมรรถนะ​จาก​การ​วิเคราะห์​วิสัย​ทัศน์​และ​พันธ​กิจ​ขอ​งบ​ริษัทฯ เพื่อ​มา​กำ�หนด​สมรรถนะ​ของ​
องค์การ สมรรถนะ​ประจำ�​ตำ�แหน่ง​และ​สมรรถนะ​ราย​บุคคล​ที่​สามารถ​สนับสนุน​การ​บรรลุ​วิสัย​ทัศน์ และ​
พนั ธก​ จิ ข​ องบ​ รษิ ทั โดยแ​ บง่ เ​ปน็ ส​ มรรถนะห​ ลกั ข​ องอ​ งคก์ าร และส​ มรรถนะต​ ามส​ ายอ​ าชพี และไ​ดก​้ �ำ หนดร​ ะดบั ​
ของ​ความค​ าด​หวังห​ รือ​ระดับข​ องส​ มรรถนะท​ ี่​พึงป​ ระสงค์​ไว้ 5 ระดับ ได้แก่

            ระดับ 0 หมายถ​ ึง	 ไม่รู้ ไม่ไ​ด้เ​รียน ขาดค​ วาม​รู้
            ระดับ 1 หมาย​ถึง	 รู้​เฉพาะใ​นด​ ้านท​ ฤษฎี ขาด​การฝ​ ึก​อบรม​ปฏิบัติ
            ระดับ 2 หมาย​ถึง	 สามารถ​ทำ�ได้บ​ าง​ส่วน ขาดก​ ารฝ​ ึก​อบรม
            ระดับ 3 หมายถ​ ึง	 สามารถ​ทำ�ได้ด​ ้วย​ความม​ ั่นใจ
            ระดับ 4 หมาย​ถึง	 สอนผ​ ู้อ​ ื่นไ​ด้ มี​ความร​ ู้ค​ วามเ​ข้าใจ​ใน​เรื่อง​ต่างๆ โดย​ละเอียด
       หลังจ​ ากน​ ั้นไ​ดเ้​ป็นกร​ ะบ​ วนก​ ารป​ ระเมินผ​ ลก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านข​ องบ​ ุคคลโ​ดยผ​ ูบ้​ ังคับบ​ ัญชาข​ องบ​ ุคลากร​
ในแ​ ต่ละ​สาย​งาน เพื่อป​ ระเมิน​ค่าค​ วามแ​ ตกต​ ่างร​ ะหว่าง​ระดับส​ มรรถนะ​ที่ พึงป​ ระสงค์​และ​ระดับ​สมรรถนะท​ ี​่
เป็นอ​ ยู่ใ​น​ปัจจุบัน แล้วป​ ระมวลเ​ป็นภ​ าพข​ ้อมูลท​ ั้งหมดแ​ ละว​ ิเคราะห์ค​ วามจ​ ำ�เป็นห​ รือค​ วามส​ ำ�คัญเ​ร่งด​ ่วนน​ ำ�​
ไปส​ ู่​การ​จัดท​ ำ�​แผนการฝ​ ึก​อบรม​ต่อไ​ป
       สำ�หรับก​ ารจ​ ัดก​ ลุ่มบ​ ุคลากร​เข้า​รับก​ ารพ​ ัฒนาน​ ั้น บริษัทฯ ได้จ​ ำ�แนก​บุคลากร​ออก​เป็น 3 กลุ่ม ตาม​
ระดับ​ของ​ตำ�แหน่ง​งาน​และ​ความ​คาด​หวัง​ด้าน​สมรรถนะ ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย แนวคิด​ด้าน​ธุรกิจ (business
concept) และ​ทักษะ​ส่วน​บุคคล (personal skills) โดยพ​ นักงานท​ ี่​แบ่งอ​ อกเ​ป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม​ระดับ​
จัดการ กลุ่ม​ระดับบ​ ังคับ​บัญชา และก​ ลุ่ม​ระดับ​ปฏิบัติก​ าร แล้ว​มี​การก​ ำ�หนดส​ มรรถนะ​ในง​ าน​และ​สมรรถนะ​
ใน​ส่วน​บุคคล รวม​ทั้ง​ทักษะ (skills) ที่​จำ�เป็น​ใน​แต่ละ​ระดับ​ทั้ง​ระดับ​จัดการ ระดับ​บังคับ​บัญชา และ​ระดับ​
ปฏิบัติ​การต​ ามค​ วาม​เหมาะส​ ม สรุปไ​ด้ ดังนี้
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76