Page 73 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 73

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-63

       ตัวอย่างก​ ารพ​ ัฒนา​บุคลากร​ระดับบ​ ังคับ​บัญชา ได้แก่ การ​ให้​ทุน​การศ​ ึกษา​แก่​พนักงานท​ ี่​มี​ศักยภาพ​
สูง​ในร​ ะดับป​ ริญญา​โท สาขา​เทคโนโลยีเ​ยื่อ​และก​ ระดาษ ซึ่ง​เป็นห​ ลักสูตร​เฉพาะท​ าง​ของ​บริษัท​ไม่มีเ​ปิดส​ อน​
ใน​สถาบัน​อื่น ดัง​นั้น จึง​เป็นการ​พัฒนา​หลักสูตร​ร่วม​กัน​ระหว่าง​พนักงาน​ระดับ​จัดการ หัวหน้า​แผนก​ที่​มี​
ความ​เชี่ยวชาญ และ​นักเรียน​ทุน​ของ​บริษัท​ที่มา​รวม​ตัว​กัน​ใน​รูป​แบบ​คณะ​กรรมการ​พัฒนา​พนักงาน​ด้าน​
เทคโนโลยี

       วิธี​การ​ อื่นๆ ที่​นำ�​มา​ใช้​ในก​ ารพ​ ัฒนาบ​ ุคลากรร​ ะดับป​ ฏิบัติก​ ารน​ อกเ​หนือ​จาก​การ​ให้​ทุน​การ​ศึกษาต​ ่อ​
แล้ว ได้แก่ การ​ส่งเ​สริมผ​ ่านก​ ิจกรรมป​ รับปรุงค​ ุณภาพต​ ่างๆ (bottom up activities) นอก​เหนือจ​ ากก​ ารส​ ร้าง​
การม​ ีส​ ่วน​ร่วมข​ อง​บุคลากร​แล้ว บริษัทฯ พบ​ว่าก​ ิจกรรม​เหล่า​นี้​ได้พ​ ัฒนา​ความ​สามารถข​ องบ​ ุคลากร และ​ส่ง​
ผลต​ ่อก​ าร​เพิ่ม​ผลผลิต​ใน​ระดับ​องค์กร​ได้อ​ ีก​ด้วย

       การบ​ ริหาร​ทรัพยากร​บุคคล​บน​ระบบส​ มรรถนะ (competency-based development) ของบ​ ริษัท
ผลิตภัณฑ์​กระดาษ​ไทย จำ�กัด เป็นแ​ บบ​อย่าง​ที่ด​ ีว​ ่า​ในก​ ารพ​ ัฒนาบ​ ุคลากร กล่าวค​ ือ องค์กร​ต้องม​ ีว​ ิสัย​ทัศน์​
ด้าน​บุคลากร​ใน​ระยะ​ยาว​อย่าง​ชัดเจน และ​สอดคล้อง​ไป​ใน​ทิศทาง​เดียว​กับ​วิสัย​ทัศน์ พันธ​กิจ และ​ทิศทาง​
การด​ ำ�เนินธ​ ุรกิจเ​พื่อจ​ ะก​ ำ�หนดแ​ นวทางไ​ดอ้​ ย่างถ​ ูกต​ ้องแ​ ละส​ อดคล้องก​ ับก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง และส​ ่งผ​ ลต​ ่อก​ าร​
ปฏิบัติง​ าน​ของ​บุคลากร และผ​ ล​ประโยชน์ท​ ี่​องค์การ​จะ​ได้​รับใ​น​ที่สุด

เรือ่ งท​ ่ี 9.3.3 	บทส​ รปุ แ​ ละข​ อ้ ส​ งั เกตบ​ างป​ ระการใ​นก​ ารน�ำ ​การบ​ รหิ าร
	​สมรรถนะทรัพยากร​บคุ คลม​ า​ใช้​ในอ​ งคก์ าร

       แนวคิด​เกี่ยว​กับ​สมรรถนะ​ที่​ชัดเจน​และ​สามารถ​นำ�​มา​ใช้​การ​บริหาร​จัดการ​ได้​นั้น เริ่ม​จาก​ยุค​ของ
David C. Mc Cleland ในช​ ่วงป​ ี 1970 จากก​ ารท​ ีเ่​ขาไ​ดจ้​ ัดต​ ั้งบ​ ริษัท Mcber Company ในก​ ารศ​ ึกษาว​ ิจัยแ​ ล้ว​
สรา้ งแ​ บบท​ ดสอบใ​นก​ ารค​ ดั เ​ลอื กเ​จา้ ห​ นา้ ทกี​่ ารท​ ตู ใ​หก​้ บั ร​ ฐั บาลส​ หรฐั อเมรกิ า จากก​ ารท​ แี​่ ตเ​่ ดมิ ไ​ดม​้ ก​ี ารท​ ดสอบ​
เรื่องค​ วามร​ ู้ ความส​ ามารถแ​ ละเ​ชาวนป์​ ัญญาแ​ ล้ว ปรากฏว​ ่าเ​จ้าห​ น้าทีก่​ ารท​ ูตท​ ีไ่​ดร้​ ับก​ ารค​ ัดเ​ลือกไ​ปป​ ฏิบัตงิ​ าน​
ด้านก​ ารท​ ูตใ​นต​ ่างป​ ระเทศใ​น​นามข​ องร​ ัฐบาลไ​ม่​ประสบค​ วามส​ ำ�เร็จใ​น​การป​ ฏิบัติง​ าน เช่น ไม่ส​ ามารถป​ รับต​ ัว​
เขา้ ก​ บั ส​ ภาพแ​ วดลอ้ มท​ างเ​ศรษฐกจิ สังคม และว​ ฒั นธรรมข​ องป​ ระเทศท​ ไี่​ปป​ ฏบิ ตั ง​ิ านไ​ด้ รัฐบาลส​ หรฐั อเมรกิ า​
จึงไ​ดจ้​ ้าง Mc Cleland จัดท​ ำ�​เครื่องม​ ือใ​นก​ ารค​ ัดเ​ลือกเ​จ้าห​ น้าทีก่​ ารท​ ูตใ​หม่ โดยใ​หอ้​ ยูบ่​ นห​ ลักก​ ารค​ วามเ​สมอ​
ภาคไ​ม่เ​ลือกเ​ชื้อช​ าติ ผิวพ​ รรณ เผ่าพ​ ันธุ์ ฯลฯ เพราะใ​นส​ ังคมค​ นอ​ เมริกันใ​นส​ มัยน​ ั้นม​ ปี​ ัญหาใ​นเ​รื่องข​ องค​ วาม​
เสมอภ​ าคม​ าก Mc Cleland จึงไ​ดศ้​ ึกษาว​ ิจัยโ​ดยแ​ ยกบ​ ุคลากรก​ ารท​ ูตอ​ อกเ​ป็น 2 กลุ่ม คือก​ ลุ่มท​ ีม่​ ผี​ ลส​ ำ�เร็จใ​น​
งานอ​ ยรู​่ ะดบั ป​ กตห​ิ รอื อ​ ยใู​่ นเ​กณฑเ​์ ฉลีย่ เ​ขาเ​รยี กว​ า่ เ​ปน็ พ​ วก “Average Performer” และก​ ลุม่ ท​ มี​่ ผ​ี ลส​ �ำ เรจ็ ใ​น​
งานอ​ ยู่ใ​นร​ ะดับย​ อดเ​ยี่ยมห​ รือส​ ูงก​ ว่าเ​กณฑ์เ​ฉลี่ยโ​ดยจ​ ะเ​รียกว​ ่าพ​ วก “Superior Performer” ต่อจ​ ากน​ ั้นเ​ขา​
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78