Page 75 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 75

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-65

พลเรือน และก​ ำ�ลัง​ขยายผ​ ล​ไปย​ ังด​ ้านอ​ ื่นๆ ด้วย และ​ได้​ให้ห​ น่วย​งาน​ของร​ ัฐ​ทุกห​ น่วย​งานส​ ่ง​เสริม​และน​ ำ�​การ​
บรหิ ารส​ มรรถนะไ​ปใ​ชใ​้ นอ​ งคก์ ารข​ องต​ น เพือ่ ท​ �ำ ใหก​้ ารบ​ รหิ ารท​ รพั ยากรบ​ คุ คลข​ องร​ าชการไ​ทย มป​ี ระสทิ ธภิ าพ​
สูง​ขึ้น

       อนึ่ง มี​ข้อ​สังเกต​บาง​ประการ​ใน​การนำ�​การ​บริหาร​สมรรถนะ​ทรัพยากร​บุคคล​มา​ใช้​ใน​องค์การ​และ​
หน่วย​งานต​ ่างๆ ที่​จะ​มีผ​ ลกร​ ะ​ทบ​ต่อก​ ารใ​ช้​ระบบ​บริหาร​ดังก​ ล่าว ประกอบ​ด้วย 3 ประเด็น​หลักด​ ัง​ต่อ​ไปน​ ี้

       1. 	 การใ​ห้ค​ วาม​สำ�คัญ​และ​ให้การส​ นับสนุน จาก​ผู้บ​ ริหาร​ระดับส​ ูง​และผ​ ู้​มีอ​ ำ�นาจใ​น​องค์การ ซึ่ง​จะ​
เป็นพ​ ลังผ​ ลัก​ดัน​โครงการ​การนำ�​ระบบ​ดัง​กล่าวใ​ห้ป​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ โดย​เฉพาะ​การ​สนับสนุนด​ ้าน​กำ�ลัง​คน
วิชาการแ​ ละค​ ่าใ​ชจ้​ ่ายห​ ากด​ ำ�เนินก​ ารโ​ดยเ​ฉพาะค​ ณะท​ ำ�งาน/บุคลากรใ​นอ​ งค์การค​ งไ​มอ่​ าจด​ ำ�เนินก​ ารใ​นร​ ะยะ​
ยาว​ต่อไ​ ป

       2. 	 ความพ​ ร้อมข​ องบ​ ุคลากรใ​นก​ ารป​ ฏิบัติง​ านใ​นค​ ณะท​ ำ�งาน ทั้งจ​ ำ�นวนค​ วามร​ ู้ ความส​ ามารถ และ​
ความเ​ข้าใจใ​นร​ ะบบบ​ ริหารส​ มรร​ ถน​ ะฯ ความส​ ามารถท​ างว​ ิชาการใ​นก​ ารว​ ิเคราะห์แ​ ละป​ ระเมินพ​ ฤติกรรมข​ อง​
บคุ คลท​ จี​่ ะร​ บั ก​ ารป​ ระเมนิ และก​ ารใ​หค​้ วามส​ �ำ คญั ต​ อ่ ง​ านน​ ที​้ ัง้ ผ​ ปู​้ ระเมนิ แ​ ละผ​ ูร้ บั ก​ ารป​ ระเมนิ เพือ่ ใ​หเ​้ กดิ ค​ วาม​
ร่วม​มือก​ ันต​ ลอดโ​ครงการ

       3. 	 การบ​ ริหาร​สมรรถนะท​ รัพยากร​บุคคล เป็นง​ านร​ ะยะย​ าว และต​ ่อเ​นื่องก​ ัน​กับ​ระบบ​การบ​ ริหาร​
งานท​ รัพยากร​บุคคล มีล​ ักษณะ​เป็นการ​พัฒนาท​ ี่ย​ ั่งยืน ดัง​นั้น จึงต​ ้องม​ ีห​ น่วยง​ าน​ภายในท​ ี่​มี​อยู่​ในร​ ะยะย​ าว
รวม​ทั้ง​บุคคล​ที่​จะ​ปฏิบัติ​งาน​ได้​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ด้วย มิ​ฉะนั้น​จะ​ทำ�ให้​การนำ�​การ​บริหาร​สมรรถนะ​ทรัพยากร​
บุคคล​มา​ใช้​ในอ​ งค์การ​ไม่บ​ รรลุ​ผล

       นอกจากน​ ั้น ยังม​ ปี​ ัจจัยบ​ างป​ ระการท​ ีจ่​ ะส​ ่งผ​ ลต​ ่อค​ วามส​ ำ�เร็จแ​ ละค​ วามล​ ้มเ​หลวใ​นก​ ารนำ�​การบ​ ริหาร​
สมรรถนะ​ทรัพยากร​บุคคล​มา​ใช้​ใน​องค์การ​อีก​หลาย​ประการ ดัง​เช่น จาก​ประสบการณ์ข​ อง​บริษัท​ที่​ปรึกษา​
และ​ฝึกอ​ บรม​ที่​ชื่อ Specialist Management Resources (SMR) ซึ่งม​ ีส​ ำ�นักงาน​ที่ม​ าเลเซีย สิงคโปร์แ​ ละ​
อินเดีย ได้​ประมวล​ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ต่อ​ความ​สำ�เร็จ​และ​ความ​ล้ม​เหลว​ของ​การนำ�​การ​บริหาร​สมรรถนะ​ไป​ใช้​ใน​
องค์การ และ​ธุรกิจ​เอกชน​ไว้​น่าส​ นใจห​ ลายป​ ระการ (R. Palan, 2003: 95-98) กล่าว​คือ

1. ปจั จยั ท​ ​ี่เอื้อ​ต่อ​ความ​ส�ำ เรจ็ (Factors aiding the success)

       1.1 	ความ​สามารถ​ใน​การ​เชื่อม​โยง​สมรรถนะ​ที่​กำ�หนด​ขึ้น​กับ​ยุทธศาสตร์​ของ​องค์การ เพราะ​ใน​
ยุทธศาสตร์​ของ​องค์การ​เป็น​ไป​ใน​การเต​รี​ยม​การ​ทุก​ด้าน​เพื่อ​อนาคต ดัง​นั้น การ​กำ�หนด​สมรรถนะ​ที่​จำ�เป็น​
และส​ อดคล้องก​ ับธ​ ุรกิจห​ รือก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงใ​นอ​ นาคต จะท​ ำ�ให้ไ​ด้ร​ ับก​ ารส​ ่งเ​สริมแ​ ละส​ นับสนุนจ​ ากท​ ุกฝ​ ่าย
และส​ ะท้อน​ต่อค​ วาม​สำ�เร็จเ​ชิงเ​ป้า​หมายข​ องอ​ งค์การ

       1.2 	กา​รบู​รณา​การ​สมรรถนะ​เข้า​กับ​การ​บริหาร​ทรัพยากร​บุคคล​หรือ​การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ใน​
องค์การ โดยก​ ารนำ�​สมรรถนะท​ ี่ก​ ำ�หนดไ​ว้ไ​ปใ​ช้​ในก​ าร​บริหารง​ าน​บุคคล โดย​สมํ่าเสมอ และ​เป็นป​ กติ​ในก​ าร​
ทำ�งาน ทำ�ให้​เกิด​การย​ อมรับ​และ​ให้​ความ​ร่วม​มือ​จาก​ทุก​ฝ่าย จน​เป็น​งาน​ประจำ�​หรือ​ปกติว​ ิสัย จะท​ ำ�ให้​การ​
บริหารส​ มรรถนะป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จส​ ูงข​ ึ้น โดยร​ ้อยล​ ะ 70 ของบ​ ุคลากรใ​ช้ Functional competency ในก​ าร​
ปฏิบัติง​ านแ​ ละท​ ุก​คน (100%) ใช้ Behavioral competency ในช​ ีวิต​ประจำ�​วันอ​ ยู่แ​ ล้ว โดยน​ ำ�​สมรรถนะไ​ป​
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80