Page 76 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 76
9-66 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา
ใช้ในก ารบ ริหารท รัพยากรบ ุคคลต ้องด ำ�เนินก ารให้ค รอบคลุมท ุกด ้าน เช่น การเลือกค นเข้าท ำ�งาน การพ ัฒนา
บุคคล การบ ริหารผ ลง าน การว างแผนความก้าวหน้าข องบุคคล และก ารบริหารตำ�แหน่งแ ละค่าต อบแทน
1.3 การมีแ ผนการดำ�เนินงานที่แ ข็งแรง โดยแผนการดำ�เนินการในการใช้การบริหารสมรรถนะต้อง
ได้ร ับการย อมรับจ ากท ุกฝ่าย มีความชัดเจนในการด ำ�เนินงานในแต่ละช่วงง านแ ละช่วงเวลา มีการส นับสนุน
ด้านบ ุคลากร งบป ระมาณและวิชาการอย่างเต็มท ี่ ทั้งนี้เพื่อจ ะได้ดำ�เนินก าร ได้ในระยะยาว และต ่อเนื่อง มี
กฎและร ะเบียบปฏิบัติร องรับ มีระบบการติดต่อสื่อสารท ี่เข้มแข็ง ระบบก ารฝึกอ บรมท ี่ด ีและมีระบบก ารวัด
และป ระเมินผ ลที่ด ีและเป็นที่ยอมรับ
1.4 การมีร ะบบการกำ�กับ ติดตาม และป ระเมินผ ลก ารป ฏิบัติง านที่ต่อเนื่องและม ีป ระสิทธิภาพ จะ
ทำ�ให้ท ราบค วามก ้าวหน้าของงานการบริหารสมรรถนะ สามารถปรับปรุงและแ ก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้ท ัน
ท่วงที ทำ�ให้การปรับแผนการด ำ�เนินง านเป็นไปอ ย่างเหมาะส ม
2. ปัจจยั ทีม่ ีผ ลต ่อค วามลม้ เหลว (Factors resulting in project failure)
2.1 การมีทีมงานที่อ่อนแอและขาดผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และความชำ�นาญในเรื่องการบริหาร
สมรรถนะอย่างแท้จริง หากมี “project champion” หรือผู้มีความเยี่ยมยอดในเรื่องน ี้มารับผิดช อบง านนี้
จะทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จ เพราะเขาจะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารสมรรถนะทุกกระบวนการ
ทุกขั้นตอน สามารถทำ�ความเข้าใจกับผู้บริหารระดับสูง และผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านในการปฏิบัติงานได้ ดัง
นั้น หากข าดผู้บริหารโครงการที่ม ีความรู้ ความสามารถในเรื่องน ี้อย่างแท้จริง จะทำ�ให้การบ ริหารสมรรถนะ
ในอ งค์การล ้มเหลวได้
2.2 การขาดแรงสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงและบุคลากรในองค์การ ในการนี้หากมีผู้บริหาร
โครงการที่มีความสามารถสูง เขาจะทำ�การชี้แจงต่อผู้บริหารระดับสูงได้ดี รวมทั้งประสานกับบุคลากรทุก
ฝ่ายในอ งค์การ ทำ�ให้ได้ร ับแ รงส นับสนุนแ ละร ่วมม ือจ ากผ ู้บ ริหารแ ละท ุกฝ ่าย รวมท ั้งท ีมง านแ ละผ ู้เชี่ยวชาญ
ในแต่ละด้านเป็นอ ย่างด ี
2.3 การที่แต่ละฝ่ายมอบหมายภารกิจการบริหารสมรรถนะให้เป็นภาระหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญแต่
ฝ่ายเดียว ก็อ าจท ำ�ให้แ ผนการด ำ�เนินง านล ้มเหลว เนื่องจากผ ู้เชี่ยวชาญม ีค วามช ำ�นาญง านเฉพาะด ้านเท่านั้น
ไม่รู้จักองค์การ กระบวนการบ ริหารองค์การ ทำ�ให้ไม่สามารถประสานงานกับบ ุคคลและห น่วยงานภ ายในได้
ซึ่งภารกิจเหล่านี้ควรเป็นของผ ู้จ ัดการห รือผ ู้บ ริหารโครงการท ี่รับผ ิดช อบงานโดยตรง
2.4 การข าดบ คุ ลากรในช ว่ งก ารว ดั แ ละป ระเมนิ ส มรรถนะบ คุ ลากร หากม บี คุ ลากรในอ งคก์ ารจ �ำ นวน
มากท ี่ต ้องได้ร ับก ารป ระเมินแ ละมีระยะเวลาอ ันจำ�กัด ในช ่วงเวลาอ ันสั้นๆ เช่น เวลา 3 เดือน เป็นต้น ในการ
ประเมินส มรรถนะบ ุคลากรต ้องป ระเมินโดยท ีมง านท ี่ป ระกอบด ้วยบ ุคคล หลายฝ ่าย ทั้งเจ้าห น้าที่ป กติแ ละผ ู้
เชี่ยวชาญด ้านก ารว ัดแ ละป ระเมิน นักจ ิตวิทยา นักว ัดผล นักส ถิติแ ละค อมพิวเตอร์ ฯลฯ อาจท ำ�ใหข้ าดแคลน
กำ�ลังคนที่จะต้องใช้ในช ่วงนี้
2.5 การข าดก ารส นบั สนนุ ด า้ นง บป ระมาณแ ละค า่ ใชจ้ า่ ย เนือ่ งจากก ารบ รหิ ารส มรรถนะเปน็ ง านร ะยะ
ยาว ต้องม ีค ่าใช้จ่ายอ ย่างต ่อเนื่อง ทั้งค่าใช้จ ่ายในด ้านบุคลากร วัสดุอ ุปกรณ์ วัสดุค อมพิวเตอร์แ ละอ ื่นๆ