Page 49 - การสัมมนาทางการแนะแนว และการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 4
P. 49
สัมมนาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ 4-39
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (2552) ศึกษา เรื่องบูรณาการระบบการดูแลระยะยาวสำ�หรับ
ผู้สูงอายุไทย โดยมีการทบทวนองค์ความรู้เรื่อง บูรณาการระบบการดูแลระยะยาวสำ�หรับผู้สูงอายุไทย มี
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและสังเคราะห์ วิธีการ แนวทาง และตัวแบบการบูรณาการบริการสุขภาพและสังคม
ของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำ�มาประยุกต์และนำ�เสนอความเป็นไปได้ในการจัดระบบบูรณาการดู
และระยะยาวในประเทศไทย เป็นการวิจัยเอกสารเก็บข้อมูลจากตำ�รา บทความ เอกสาร สิ่งตีพิมพ์ และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในระบบการให้บริการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาผลการศึกษา
โดยสังเขปมีดังนี้คือ
การบูรณาการบริการสำ�หรับผู้สูงอายุ เป็นการจัดระบบสนับสนุนอย่างต่อเนื่องระหว่าง
สถาบัน บุคคลที่ให้บริการและครอบครัว เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และ
ความพงึ พอใจ กลวธิ กี าร บรู ณาการบรกิ ารสขุ ภาพและสงั คมนัน้ ตอ้ งเริม่ จากการก�ำ หนดหนว่ ยงานทีเ่ ปน็ กลาง
ในการก�ำ หนดนโยบายและการจดั สรรทรพั ยากรการบรหิ ารจดั การทีม่ ุง่ เนน้ ทอ้ งถิน่ เปน็ หลกั การถา่ ยโอนความ
รบั ผดิ ชอบในการดแู ลระยะยาวไปยงั หนว่ ยงานปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ การสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ทางเลอื กในการดแู ล
ที่บา้ น และสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความร่วมมือระหวา่ งผูด้ ูแลแต่ละประเภท เพื่อให้เกดิ การพฒั นาการกระจายบริการ
และสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้สูงอายุ ส่วนเทคนิคการบูรณาการที่ประเทศต่างๆ ใช้ คือ การสร้างระบบการ
เข้าถึงบริการ สร้างแบบแผนการดูแลเฉพาะรายและรูปแบบการดำ�เนินงานแบบเครือข่าย
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (2549) ได้วิจัยเรื่องระบบการดูแลระยะยาวในครอบครัว สำ�หรับผู้
สูงอายุมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน การนำ�เสนอระบบการดูแลระยะยาวใน
ครอบครัวสำ�หรับผู้สูงอายุในอนาคต โดยใช้วิธีการสังเคราะห์งานวิจัย 4 เรื่อง รวมกับนำ�ข้อมูลจากงานวิจัย
ภาคสนาม กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยทั้ง 4 เรื่องมาจากผู้สูงอายุจำ�นวน 316 ราย สมาชิกในชุมชน 516 ราย
สมาชิกในครอบครัว ซึ่งแบ่งเป็นผู้ดูแลหลัก 1,581 ราย สมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัว 1,600 ราย และผู้นำ�
ชุมชน จำ�นวน 640 ราย จาก 16 จังหวัด 32 หมู่บ้าน ครอบคลุมทุกภาคของประเทศ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
ปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณาและเชิงอนุมาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษา มีดังนี้ โดยแต่ละครอบครัวมีผู้ทำ�หน้าที่ดูแลผู้สูงอายุโดยเป็นผู้ดูแลหลัก เครือข่ายที่ให้ความ
ช่วยเหลือในการดูแลมากที่สุดคือ ญาติ ครอบครัวทำ�หน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในการดำ�เนินชีวิตทุกอย่าง ปัญหา
ที่สำ�คัญในการดูแลผู้สูงอายุของครอบครัวคือ ปัญหาด้านรายได้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการอยู่อาศัยของผู้สูง
อายุในครอบครัว ได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันของผู้สูงอายุ บทบาทของผู้ดูแล และ
ภาวะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ส่วนการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนนั้น ผู้นำ�ชุมชนมีทัศนะว่าครอบครัวควร
มีบทบาทสำ�คัญในการดูแล แต่ชุมชนควรมีหน้าที่จัดบริการให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุ โดยเพิ่ม
บรกิ ารใหท้ ัว่ ถงึ และเปน็ รปู แบบทีเ่ นน้ การสงเคราะหแ์ บบใหเ้ ปลา่ นอกจากนีก้ ารวจิ ยั ไดพ้ บกลุม่ ทีม่ คี วามเสีย่ ง
ต่อปัญหาในการอยู่อาศัยในครอบครัว 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุที่อาศัยในครอบครัวที่ยากจน กลุ่มผู้สูงอายุ
ทีช่ ว่ ยตนเองไมไ่ ดแ้ ละกลุม่ ทีเ่ ปน็ ผูด้ แู ลทีอ่ ายุ 60 ปขี ึน้ ไป ซึง่ ทกุ กลุม่ มปี ญั หาดา้ นการเงนิ มากทีส่ ดุ ดงั นัน้ การ
พัฒนาระบบการดูแลระยะยาวในครอบครัวสำ�หรับผู้สูงอายุ ควรประกอบด้วย การกำ�หนดบทบาทความรับ
ผิดชอบของสถาบันและองค์กรระดับต่างๆ ให้ชัดเจน มีระบบการสร้างความมั่นคงทางรายได้ ระบบบริการ