Page 61 - การสัมมนาทางการแนะแนว และการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 4
P. 61

สัมมนาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ 4-51

ดำ�เนินงานแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ให้ลุล่วง เป็นบุคคลที่ช่วยเหลือและให้บริการแนะแนว
และการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ในทุกด้าน คือการแนะแนวด้านการศึกษา อาชีพ และส่วนตัวและสังคม
ผู้ให้การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ นอกจากจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
แนะแนว โดยนอกจากการศึกษาอบรมทางจิตวิทยาการให้การปรึกษาแล้ว ยังต้องมีคุณสมบัติส่วนตัวใน
ด้านต่างๆ ดังที่พิรุณรัตน์ สันติลีลา (2541) ได้ศึกษาเรื่อง ลักษณะที่พึงประสงค์ของครูแนะแนวตามทัศนะ
ของผู้เชี่ยวชาญด้านการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยใช้
เทคนิคเดลฟาย ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่นักแนะแนวผู้ใหญ่พึงมีด้วย เช่น ด้านคุณธรรม ได้แก่ ควรมีความ
เมตตา ซื่อสัตย์ เสียสละ เห็นใจผู้อื่น ยึดมั่นในจรรยาบรรณของการให้คำ�ปรึกษา ในด้านบุคลิกภาพ ได้แก่
ความจริงใจ ความกระตือรือร้น มีมนุษยสัมพันธ์ แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ ปรับตัวได้
มีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใสร่าเริง มองโลกในแง่ดี มีความเป็นตัวของตัวเอง สุขุมรอบคอบ มีความคิดริเริ่ม
สรา้ งสรรค์ และมคี วามอดทน ดา้ นความเปน็ ประชาธปิ ไตย ไดแ้ ก่ การใหเ้ กยี รตแิ ละเคารพสทิ ธขิ องผูอ้ ืน่ รูจ้ กั
หน้าที่ บทบาทของตนเองและผู้อื่น มีความเป็นผู้นำ� ผู้ตามที่ดี และคุณลักษณะเฉพาะตัวอื่นๆ ได้แก่ การมี
ความภาคภูมิใจในตนเอง มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในวิชาชีพของตน

       กาญจนา ไชยพันธ์ และวริศนา ศรีสวัสดิ์ (2357) ได้ศึกษาเรื่องคุณลักษณะของผู้ให้การปรึกษาที่
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นต้องการปรึกษา ได้พบเกี่ยวกับความต้องการคุณลักษณะ และ
ระดบั ความส�ำ คญั ของผูใ้ หก้ ารปรกึ ษาวา่ นกั ศกึ ษามคี วามตอ้ งการผูใ้ หก้ ารปรกึ ษาอยูใ่ นระดบั ความส�ำ คญั มาก
ในด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านประสบการณ์แนะแนวและการดำ�เนินชีวิตด้านบุคลิกภาพ ด้านความประพฤติ
และคุณธรรม ด้านความเป็นผู้นำ�  และด้านความรู้และทักษะในการแนะแนว และลำ�ดับความสำ�คัญของ
คุณลักษณะของผู้ให้การปรึกษาตามความต้องการของนักศึกษาในแต่ละด้านพบว่า นักศึกษามีความต้องการ
ผู้ให้การปรึกษาลำ�ดับที่หนึ่ง คือ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ลำ�ดับที่สอง คือ ด้านความประพฤติ และคุณธรรม และ
ดา้ นความเปน็ ผู้นำ� ล�ำ ดับทีส่ ามคือ ด้านความรู้และทักษะใน การแนะแนว ลำ�ดับที่สีค่ อื ด้านบุคลกิ ภาพ ลำ�ดบั
ที่ห้าคือ ด้านประสบการณ์แนะแนว และการดำ�เนินชีวิต

       พริ้มเพรา กรรณนุช (2537) ได้ศึกษาวิจัยพบว่า เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 6 ส่วนให้คำ�ปรึกษา
แนะนำ� สำ�นักงาน ก.พ. จะสามารถปฏิบัติภารกิจได้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ต้องมีความรู้ในหมวดวิชาความรู้
พืน้ ฐาน ซึง่ ประกอบดว้ ย ทกั ษะพนื้ ฐานการใหค้ �ำ ปรกึ ษา (Counseling) ดา้ นการบรหิ ารระเบยี นวธิ วี จิ ยั ทางการ
บริหารงานบุคคล ได้แก่ การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การจัดองค์กร (Organization
and Management) การศึกษาปรับปรุงงาน (Work Study & Work Improvement Method) การกำ�หนด
ตำ�แหน่ง การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning) การบริหารงานบุคคล และหมวด
วชิ าความรูเ้ สริมในการปฏบิ ตั ิงานให้มีคณุ ภาพยิ่งขึ้น ไดแ้ ก่ การจดั ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารงานบคุ คล
(Personnel Management Information System) และนโยบายบริการงานบุคคลของรัฐยุคใหม่

       หม่อมหลวงยุพดี ศิริวรรณ (2542) ศึกษาเรื่องปัญหาการให้บริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตทาง
โทรศัพท์ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ผู้ให้การปรึกษา มีความต้องการ
เทคนิคและการฝึกทักษะในการให้การปรึกษา คือ 1) จัดอบรมหลักสูตรการให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66