Page 65 - การสัมมนาทางการแนะแนว และการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 4
P. 65
สัมมนาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ 4-55
2) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่พิการกับปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพจิตของทหารผ่านศึก
พิการ พบความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพจิตบางด้านกับระยะเวลาที่พิการในกลุ่มอายุ 41 ปี และในกลุ่มสมรส
แล้วอยู่ด้วยกัน
อัมพร เบญจพลพิทักษ์ (2539) ศึกษาเรื่องปัญหาสุขภาพจิตของแพทย์ประจำ�บ้าน
โรงพยาบาลรามาธิบดี พบว่า แพทย์ประจำ�บ้านเป็นผู้มีความเครียดจนเป็นปัญหาต่อสุขภาพจิต ร้อยละ 42.2
ภาวะนี้สัมพันธ์กับการมีคู่ครองที่มีอาชีพแพทย์อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลพื้น
ฐานอื่น ในส่วนของปัญหาในชีวิตประจำ�วัน แพทย์ทั้งสองกลุ่มคือทั้งที่มีภาวะความเครียดและไม่มีภาวะ
ความเครียด ต่างก็มีปัญหาจากหอพักแพทย์ ปัญหาการเงิน และปัญหาการทำ�งานสูงเป็นสามอันดับแรก
แต่เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์กับภาวะเครียดแล้ว พบว่ามีปัญหาสี่ด้านที่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ คือปัญหา
ครอบครัว ปัญหาการทำ�งาน ปัญหาการเงิน และปัญหาสุขภาพ นอกจากนี้ ภาวะเครียดจะส่งผลให้แพทย์
ประจำ�บ้านรู้สึกผิดต่อการตัดสินใจการศึกษาต่อเป็นแพทย์เฉพาะทาง และขาดความมั่นใจในการเรียนจน
จบหลักสูตร อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติอีกด้วย
ไพฑูรย์ สมุทรสิทธิ์ (2541) ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพจิตกับการ
เกิดอุบัติเหตุในที่ทำ�งาน และการขาดงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดนนทบุรี พบว่า 1)
พนักงานโรงานอตุ สาหกรรม มีภาวะสุขภาพจิตในระดับปกติ รอ้ ยละ 58.8 และอีกรอ้ ยละ 41.2 ที่มแี นวโนม้ ที่
เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยทางจิต 2) ภาวะสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์ในทางลบกับการเกิดอุบัติเหตุในที่ทำ�งานและ
การขาดงานอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ 3) การรับรู้เกี่ยวกับความเครียด ปัญหาที่นำ�ไปสู่ความเครียดและวิธี
การจัดการกับปัญหาพบว่าพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมไม่เครียด/ไม่มีปัญหาร้อยละ 31.5 เครียด/มีปัญหา
ร้อยละ 68.5 ในจำ�นวนนี้ปัญหาที่พบมาก 3 อันดับแรกคือ ปัญหาการเงิน ปัญหาสุขภาพ และการขัดแย้งกับ
เพื่อนร่วมงานร้อยละ 44.4, 38.2 และ 27.6 ตามลำ�ดับ ส่วนการจัดการกับปัญหา 3 อันดับแรกคือ พูดคุยกับ
คนที่ไว้ใจ เที่ยว ดูภาพยนตร์และเล่นกีฬา ร้อยละ 51.6, 32.6 และ 29.3 ตามลำ�ดับ
บณั ฑติ ศรไพศาล และคณะ (2541) ศกึ ษาเรือ่ งการส�ำ รวจภาวะสขุ ภาพจติ ของประชาชน
ในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในรอบ 1 ปี (โดยการสำ�รวจทางโทรศัพท์) พบว่า ปัญหาทางเศรษฐกิจ/การเงิน
เป็นสาเหตหุ ลกั อันดับหนึง่ ที่ท�ำ ใหป้ ระชาชนเครียด กลุม่ ประกอบอาชพี และกลุม่ วา่ งงาน อนั ดบั สองคอื ปญั หา
การทำ�งานและปัญหาครอบครัว ส่วนอันดับสามพบว่า กลุ่มว่างงาน มีปัญหาโรคทางกาย เป็นสาเหตุทำ�ให้
เครียดในการสำ�รวจเดือนมีนาคม 2541 เมื่อประชาชนเกิดความเครียดทั้งในกลุ่มประกอบอาชีพและกลุ่ม
ว่างงานจะเลือกใชว้ ิธกี ารแกป้ ญั หา 5 อันดับแรกในลกั ษณะที่สร้างสรรคเ์ หมอื นกัน ได้แกก่ ารยอมรบั สิง่ ที่เกดิ
ขึ้น หางานอดิเรกทำ� พูดระบายกับผู้อื่น ทำ�บุญ-ตักบาตร และออกกำ�ลังกาย ส่วน 5 อันดับแรกเหมือนกัน
ได้แก่ ตนเอง บุคคลในครอบครัว คู่สมรส/คู่รัก เพื่อน และผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ในการขอความช่วยเหลือ
จากผู้เชี่ยวชาญนั้นกลุ่มประกอบอาชีพเลือกขอความช่วยเหลือจากพระมากกว่าจิตแพทย์ แพทย์ และหมอดู
ตามลำ�ดับ ส่วนกลุ่มว่างงานเลือกขอความช่วยเหลือจากพระมากกว่าแพทย์ หมอดู และจิตแพทย์ ตามลำ�ดับ
สรวุฒิ สังข์รัศมี (2542) ศึกษาเรื่องการสำ�รวจความเครียดของเจ้าหน้าที่ตำ�รวจ กรณี
ศึกษาสถานีตำ�รวจภูธร อำ�เภอเมือง นครราชสีมา พบว่าเจ้าหน้าที่ตำ�รวจภูธร ร้อยละ 85.5 มีความเครียดสูง