Page 118 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 118
2-108 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาพท ่ี 2.36 ภาพต ดั ต ามขวางของล�ำ ตน้ แ สดงเพอ รเิ ดิรม์
ในชั้นเพอริเดิร์มของลำ�ต้นเกือบทุกชนิดจะมีบริเวณที่เป็นรอยแตกมีลักษณะคล้ายรูปเลนส์
(lens) ซึ่งอาจเป็นรอยแตกตามยาวหรือตามขวางของลำ�ต้นก็ได้ รอยแตกนี้เรียก เลนทิเซล (lenticel)
เลนท เิซลม ักจ ะเกิดอ ยูใ่ตบ้ ริเวณป ากใบห รือบ ริเวณร ะหว่างป ากใบมกี ารแ บ่งต ัวห ลายร ะนาบ เกิดเป็นเนื้อเยื่อ
ทีป่ ระกอบด ้วยเซลลท์ ีม่ ผี นังบ างเนื่องจากไมม่ ซี เูบอ รินจ ำ�นวนม าก กลุ่มเซลลเ์หล่าน ีจ้ ะอ ยูก่ ันอ ย่างห ลวมๆ มี
ช่องว ่างร ะหว่างเซลล์ม าก เรียกเนื้อเยื่อน ี้ว ่า เนื้อเยื่อค อมพ ลีเมนท าร ี (complementary tissue) ต่อม าเซลล์
ของเนื้อเยื่อคอมพลีเมนทารีขยายขนาดขึ้น โพรโทพลาซึมหายไปจึงเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต การเกิดเนื้อเยื่อ
คอมพ ลเีมนท าร ี ทำ�ใหเ้อพ ิเดอ รม์ ิสบ ริเวณน ั้นแ ตกห ลุดไป และเอพ ิเดอ รม์ ิสร อบๆ รอยแ ตกจ ะโค้งก ลับ ทำ�ให้
ส่วนของเนื้อเยื่อคอมพลีเมนทารีโผล่ออกมาตรงบริเวณรอยแตก เนื่องจากบริเวณเนื้อเยื่อคอมพลีเมนทารี
มีช่องว ่างร ะหว่างเซลล์มาก จึงทำ�ให้การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดข ึ้นได้สะดวก
ลำ�ต้นท ี่ม ีการเจริญเติบโตขั้นที่ส องป ระกอบด ้วยส่วนที่เป็นเปลือกไม้ (bark) และส ่วนที่เป็น
เนื้อไม้ (wood)
1) เปลือกไม้ เป็นส่วนของลำ�ต้นมีเนื้อไม้ (woody stem) ที่อยู่ถัดจากวาสคิวลาร์-
แคมเบยี มอ อกไปท างด ้านน อกท ั้งหมด เปลือกไมข้ องล ำ�ต้นท ีย่ ังอ ่อนจ ะป ระก อบ ด้วยโฟลเอ็มข ั้นส อง (ถ้าเกิด
แล้ว) โฟลเอ็มขั้นแรก คอร์เทกซ์ และเอพ ิเดอร์มิส ส่วนเปลือกไม้แบ่งอ อกเป็น 2 ส่วน คือ เปลือกไม้ส่วนที่
ตายแล้ว (dead bark) ซึ่งเป็นช ั้นข องค อร์ก ทำ�หน้าที่ป้องกันอ ันตรายให้แ ก่ส่วนท ี่อ ยู่ด้านในและเปลือกไม้
ส่วนที่ยังมีชีวิต (live bark) ซึ่งเป็นส่วนของเปลือกไม้ตั้งแต่บริเวณถัดจากวาสคิวลาร์แคมเบียมออกไปจน
ถึงค อร์ก เปลือกไม้ส ่วนน ี้ท ำ�ห น้าที่ในก ารล ำ�เลียงอ าหารแ ละส ารต ่างๆ บริเวณเปลือกไม้ท ี่ย ังม ีช ีวิตจ ะบ างก ว่า
บริเวณเปลือกไม้ท ี่ตายแล้วมาก บริเวณเปลือกไม้ที่ต ายแล้วน ี้จ ะมีเลนทิเซลกระจายอยู่ทั่วไป