Page 119 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 119

กระบวนการ​ดำ�รง​ชีวิต 2-109

                2)	 เน้ือ​ไม้ เป็น​ส่วน​ที่​อยู่​ถัด​จาก​เปลือก​ไม้​เข้าไป​ทาง​ด้าน​ใน​ทั้งหมด ได้แก่ ส่วน​ของ​
ไซเ​ลมข​ ั้นท​ ี่ส​ อง และ pith เนื้อไ​ม้จ​ ะแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 2 ประเภท คือ ไม้เ​นื้อแ​ ข็ง (hard wood) ซึ่งพ​ บใ​นพ​ ืชด​ อ​ ก​
ส่วน​ใหญ่ และ​ไม้​เนื้อ​อ่อน (soft wood) ซึ่ง​พบ​ใน​จิ​มโน​สเปิร์ม โดย​เฉพาะ​พืช​พวก​โค​นิ​เฟอร์ (conifers)

                     (1) ไม้​เนื้อ​แข็ง ประกอบ​ด้วย​เซลล์​ท่ี​มี​ผนัง​หนา​ทำ�​หน้าท่ี​ลำ�เลียง​และ​สร้าง​ความ​
แข็ง​แรง​ให้​แก่​ล�ำ ต้น ไซ​เลม​ของ​พวก​ไม้​เน้ือ​แข็ง​นอกจาก​จะ​ประกอบ​ด้วย​เทร​คีด (tracheid) แล้ว​ยัง​มี​เวส​เซล
(vessel) ด้วย​ซ่ึง​ทำ�ให้​ไม้​เนื้อ​แข็ง​แตก​ต่าง​จาก​ไม้​เน้ือ​อ่อน เพราะ​ไม้​เน้ือ​อ่อน​จะ​ไม่​มี​เวส​เซล นอกจาก​น้ี​ไม้​เน้ือ​
แขง็ ​ยังม​ ี​เสน้ ใย (wood fiber) ดว้ ย เนือ้ ​ไมท​้ ม​่ี เ​ี วสเ​ซลเ​รียก พอ​รัส​ว​ูดมี 2 พวก คอื เนอ้ื ​ไม​ท้ รี่​ ูเ​วสเ​ซล​เลก็ และ​
มีข​ นาด​เท่าๆ กนั (diffuse-porous wood) และ​เนื้อ​ไมท​้ รี​่ ู​เวสเ​ซล​ใหญ่ (ring-porous wood) บรเิ วณ​เน้ือไ​ม้​
ท่​รี เ​ู วสเซลเ​ล็ก​และ​มข​ี นาด​เท่าๆ กนั เกดิ ​ข้นึ ใ​นฤ​ ดรู​ ้อนห​ รอื ​ฤดูใ​บไม้​ร่วง ซ่ึงเ​ป็นร​ ะยะ​ทแี​่ ห้ง​แล้งน​ ํ้าใ​นด​ นิ ม​ นี​ อ้ ย
อตั ราก​ ารเ​จรญิ เ​ตบิ โตจ​ งึ เ​กดิ ข​ น้ึ น​ อ้ ย เซลลม​์ ข​ี นาดเ​ลก็ ผนงั เ​ซลลห​์ นา เนอื้ ไ​มบ​้ รเิ วณน​ เ​้ี รยี ก ซมั เ​มอ​ รว์ ดู (summer
wood) หรอื อ​ อทมั วดู (autumm wood) หรอื เลตว​ ดู (late wood) สว่ นบ​ รเิ วณเ​นอื้ ไ​มท​้ ร​ี่ เ​ู วสเ​ซลใ​หญเ​่ กดิ ข​ น้ึ ใ​น​
ฤดใ​ู บไมผ​้ ลิ ซง่ึ เ​ปน็ ร​ ะยะท​ ม​ี่ ค​ี วามช​ มุ่ ช​ น้ื ม​ าก การเ​จรญิ เ​ตบิ โตเ​กดิ ข​ นึ้ อ​ ยา่ งร​ วดเรว็ เซลลม​์ ข​ี นาดใ​หญ่ ผนงั เ​ซลล​์
บาง เน้อื ​ไม​้บรเิ วณ​นี้​เรียก​วา่ สปรงิ ​วูด (spring wood) หรอื ​เอ​อรล์​ วี​ ูด (early wood)

                     (2) ไม้​เนื้อ​อ่อน ประกอบ​ด้วย​เทร​คีด​เป็น​ส่วน​ใหญ่ ทำ�​หน้าที่​ลำ�เลียง​และ​สร้าง​
ความ​แขง็ ​แรง​ใหแ​้ กล​่ ำ�ตน้ ไม้​พวก​นี้​ไม่ม​ เ​ี วสเ​ซล เรียก นอน-พอร​ ัสว​ ดู (non-porous wood) เทรค​ ีดท​ ​่ีเกดิ ​ข้นึ ​
ในฤ​ ดใ​ู บไมผ​้ ลห​ิ รอื ฤ​ ดฝ​ู นจ​ ะใ​หญแ​่ ละผ​ นงั บ​ างก​ วา่ เ​ทรค​ ดี ท​ เ​่ี กดิ ใ​นฤ​ ดร​ู อ้ นห​ รอื ฤ​ ดใ​ู บไมร​้ ว่ ง ซงึ่ ก​ ารเ​จรญิ เ​ตบิ โต​
เกิดข​ ึน้ ช​ ้า เซลล​ข์ อง​เทรค​ ีด​จะเ​ลก็ ​และผ​ นงั เ​ซลล์ห​ นา

            เปลอื กไ​มแ​้ ละเ​นอื้ ไ​มข​้ องพ​ ชื พ​ วกส​ นเ​ขาจ​ ะม​ ท​ี อ่ เ​รซนิ (resin duct หรอื resin canal)  ซงึ่ เ​นอื้ เ​ยอื่ ​
​พาเรงคิม​ าท​ ี่​อยู่ร​ อบ​ท่อจ​ ะส​ ร้างโ​อเ​ลโอ​เรซิน (oleoresin) เมื่อล​ ำ�ต้นเ​กิด​บาดแผล โอเ​ลโอ​เรซิน​จะไ​หล​ออก​มา​
ปิด​บริเวณ​ที่​เป็น​บาดแผล​ป้องกัน​ไม่​ให้​แมลง​และ​รา​ทำ�​อันตราย​ลำ�ต้น โอ​เลโอ​เรซิน​นี้​จะ​ให้​สาร​เท​อร์​เพน​ไทน์
(turpentine) และช​ ันสน​หรือ​เร​ซิน (resin)

            เนือ้ ไ​มห​้ รอื ส​ ่วนข​ องไ​ซเ​ลมข​ ั้นท​ ีส่​ องท​ เี​่ กดิ ข​ ึน้ ใ​นแ​ ตล่ ะป​ เี​รียก วงป​ ี (annual ring หรอื growth
ring) วง​ปี​แต่ละ​วง​ประกอบด​ ้วย spring wood หรือ early wood และ summer wood หรือ late wood
บริเวณ spring wood จะ​อยู่ข​ อบใ​นข​ อง​วง​ปี สีจ​ ะจ​ าง​เนื่องจาก​ผนัง​เซลล์​บาง​เพราะย​ ังไ​ม่มีส​ ารม​ าส​ ะสมม​ าก
ส่วนบ​ ริเวณ summer wood จะอ​ ยู่ข​ อบน​ อกข​ องว​ งป​ ี สีจ​ ะเข้ม​ กว​ ่าเ​นื่องจากผ​ นังเ​ซลล์ห​ นาเ​พราะม​ ีส​ ารส​ ะสม​
มาก บริเวณ summer wood นี้​จะแ​ คบก​ ว่า​บริเวณ spring wood

            ส่วนข​ องเ​นื้อ​ไม้​จะ​แบ่ง​เป็นก​ระ​พี้ (sapwood) และแ​ ก่น (heartwood) แกน่ เป็นบ​ ริเวณแ​ กน​
กลางเ​ป็นส​ ่วนข​ องไ​ซเ​ลมข​ ั้นท​ ี่ส​ องท​ ี่ต​ ายแ​ ละเ​ลิกท​ ำ�ห​ น้าที่ใ​นก​ ารล​ ำ�เลียงแ​ ล้ว สีจ​ ะเ​ข้มเ​นื่องจากม​ ีส​ ารต​ ่างๆ มา​
สะสม เช่น กัม (gum) แทน​นิน (tannin) ชันหรือ​เรซิน (resin) เป็นต้น ในเ​ทร​คีด​ของแ​ ก่นม​ ัก​ถูก​อุด​ตันโ​ดย​
ไทโลส (tylose) ซึ่งเ​ป็น​ผนัง​ของพ​ าเรงคิม​ าท​ ี่​ยื่นอ​ อก​มาเ​ข้าไป​ใน​ท่อ (lumen) ของ​เวส​เซล กระพี้ เป็น​บริเวณ​
รอบน​ อกข​ องแ​ ก่น เป็นส​ ่วน​ของ​ไซ​เลมข​ ั้นท​ ี่​สองท​ ี่ย​ ังม​ ีช​ ีวิต​และ​ทำ�​หน้าที่ใ​นก​ าร​ลำ�เลียง​ได้ บริเวณ​ด้าน​ใน​ของ​
กระพี้​จะค​ ่อยๆ เปลี่ยนไ​ป​เป็น​แก่น และจ​ ะ​เกิด​กระพี้​ใหม่จ​ ากก​ ารเ​จริญ​เติบโต​ขั้น​ที่​สอง​ในแ​ ต่ละ​ปี
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124