Page 122 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 122

2-112 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       ไข่​ของ​สัตว์​ต่างๆ มี​ปริมาณ​ไข่​แดง​ไม่​เท่า​กัน สัตว์​ที่​ออกลูก​เป็น​ไข่​มัก​จะ​มี​ไข่​แดง​ปริมาณ​มาก ทั้งนี้
เพราะไ​ข่แ​ ดงจ​ ะถ​ ูกน​ ำ�ไ​ปใ​ช้ใ​นก​ ารเ​จริญข​ องต​ ัวอ​ ่อนจ​ นก​ ระทั่งฟ​ ักอ​ อกจ​ ากไ​ข่เ​ป็นต​ ัวท​ ี่อ​ อกห​ ากินไ​ด้ต​ ามล​ �ำ พัง
ส่วนส​ ัตวท์​ ีม่​ กี​ ารเ​จริญข​ องต​ ัวอ​ ่อนเ​กิดข​ ึ้นภ​ ายในท​ ้องแ​ มม่​ ักจ​ ะม​ ไี​ขแ่​ ดงน​ ้อยเ​พราะอ​ าหารท​ ีใ่​ชใ้​นก​ ารเ​จริญแ​ ละ​
พัฒนา​ของ​ตัว​อ่อน​จะ​ถูก​ส่ง​จาก​แม่​โดย​ผ่าน​ทาง​รก นัก​ชีววิทยา​เชื่อ​ว่า​ปริมาณ​ของ​ไข่​แดง​และ​ลักษณะ​ของ​
ไข่​แดงภายใน​ไข่​นี้​เอง​ที่​มี​อิทธิพล​สำ�คัญ​ต่อ​รูป​แบบ​การ​แบ่ง​ตัว​ของ​ไซ​โกต​สัตว์​แต่ละ​พวก นอกจาก​นี้​วิธี​การ​
​เจริญ​และ​พัฒนา​ของ​ตัว​อ่อน​ใน​สัตว์​พวก​ต่างๆ ที่​มี​ไข่​แดง​ไม่​เหมือน​กัน​ยัง​เป็น​ประโยชน์​ใน​การ​ศึกษา​
วิวัฒนาการ​ของส​ ัตว์​พวก​ที่​มีส​ าย​พันธุ์​ใกล้เ​คียงก​ ันอ​ ีก​ด้วย

       ไข่​ของ​สัตว์​แต่ละ​ชนิด​สามารถ​ถูก​จำ�แนก​เป็น​พวก​ต่างๆ ตาม​ลักษณะ และ​ปริมาณ​ของ​ไข่​แดง​
ดัง​ต่อไ​ ป​นี้

       1.1 	ไข่​ชนิด​ไอ​โซเล​ซิ​ทัล (isolecithal) ไข่​ชนิด​นี้​มี​ไข่​แดง​ปริมาณ​น้อย ไข่​แดง​มี​ลักษณะ​ละเอียด​
กระจายอ​ ยู่ท​ ั่วไปใ​นไ​ซ​โทพ​ ลาซ​ ึม เช่น ไข่ข​ องห​ อย​เม่น และ​ดาว

       1.2 	ไข่​ชนิด​ที​โลเล​ซิ​ทัล (telolecithal) ไข่​ชนิด​นี้​มี​ไข่​แดง​มาก​และ​ไข่​แดง​จับ​เป็น​ก้อน​อยู่​ด้าน​ใด​
ด้าน​หนึ่ง​ของ​ไข่ ไข่​ที่​มี​ไข่​แดง​ลักษณะ​ดัง​กล่าว​นี้​ยัง​ถูก​แบ่ง​ออก​ได้​เป็น 2 แบบ คือ แบบ​ที่​หนึ่ง​ไข่​ที่​มี​ไข่​แดง​
มาก​ปาน​กลาง ได้แก่ ไข่​ของ​สัตว์​สะเทิน​นํ้า​สะเทิน​บก เช่น กบ แบบ​ที่​สอง​ไข่​ที่​มี​ไข่​แดง​มาก​จน​กระทั่ง​ดัน​
ให้​ส่วน​ของ​นิวเคลียส​และ​ไซ​โท​พลา​ซึม​รอบๆ นิวเคลียส​ไป​อยู่​ด้าน​บน​ของ​ไข่ ได้แก่ ไข่​ของ​สัตว์​เลื้อย​คลาน​
และ​พวก​นก เป็นต้น

       1.3	 ไขช​่ นดิ อ​ ะเลซ​ ท​ิ ลั (alecithal) ไขช่​ นิดน​ ีไ้​ม่มไี​ขแ่​ ดงเ​ลยห​ รือม​ กี​ น็​ ้อยม​ าก เช่น ไขข่​ องค​ น และสัตว​์
พวก​ไพร​เมต

       1.4 	ไข่​ชนิด​เซน​โทร​เล​ซิ​ทัล (centrolecithal) ไข่​ชนิด​นี้​ไข่​แดง​กระจาย​อยู่​บริเวณ​ตรง​กลาง​ของ​ไข่​
รอบๆ นิวเคลียส ได้แก่ ไข่ข​ องส​ ัตว์​ขา​ข้อช​ นิดต​ ่างๆ เช่น แมลง

2. 	กระบวนการ​ทเี​่ ก่ียวข้องก​ บั ก​ ารเ​จริญ​ของ​สตั ว์ใ​นร​ ะยะ​เอม็ บริโอ

       การ​เจริญ​ใน​ระยะ​เอ็มบริโอ​ของ​สัตว์​เป็นก​ระ​บวน​การ​ซับ​ซ้อน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​แบ่ง​เซลล์​แบบ​
ไม​โทซิส​เพื่อ​เพิ่ม​จำ�นวน​เซลล์ การ​เคลื่อนที่​ของ​เซลล์ และ​การ​เปลี่ยนแปลง​รูป​ร่าง​และ​ขนาด​ของ​เซลล์​เพื่อ​
ทำ�​หน้าที่​เฉพาะ กระบวนการ​เหล่า​นี้​เกิด​ขึ้น​ใน​เวลา​ที่​แน่นอน​และ​ถูก​ควบคุม​โดย​พันธุกรรม​ของ​สัตว์​นั้นๆ
การ​เจริญใ​น​ระยะ​เอ็มบริโอ​เริ่มต​ ้น​ตั้งแต่ไ​ข่​ได้ร​ ับก​ าร​ผสมก​ ับ​อสุจิ เกิด​เป็น​ไซโ​กต​ซึ่ง​เป็น​ระยะท​ ี่ม​ ีเ​ซลล์เ​พียง​
เซลล์​เดียว ต่อ​มา​มี​การ​แบ่ง​เซลล์​ภายใน​ไซ​โกต​เกิด​ขึ้น​ทำ�ให้​ได้​เซลล์​เล็กๆ จำ�นวน​มาก แต่​ขนาด​ภายนอก​
ของ​ไซ​โกต​ยัง​คงเ​ท่าเ​ดิม ต่อ​มาเ​ซลล์​เล็กๆ เหล่าน​ ี้จ​ ะ​มาเ​รียงต​ ัว​กัน​เพื่อเ​จริญเ​ปลี่ยนแปลงต​ ่อ​ไปก​ ลาย​เป็น​ตัว​
อ่อนห​ รือเ​อ็มบริโอท​ ีม่​ อี​ วัยวะส​ ำ�หรับด​ ำ�รงช​ ีพค​ รบถ​ ้วน ระยะข​ องเ​อ็มบริโอส​ ิ้นส​ ุดล​ งเ​มื่อต​ ัวอ​ ่อนฟ​ ักอ​ อกจ​ ากไ​ข​่
หรือ​คลอดอ​ อก​จาก​ท้องแ​ ม่

       การ​เจริญ​ของ​เอ็มบริโอ​สัตว์​ทุก​ชนิด​เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​เกิด​ขึ้น​ต่อ​เนื่อง​ตั้งแต่​ไซ​โกต​จน​เจริญ​เป็น​
​ตัว​อ่อน​ที่​มี​อวัยวะ​ครบ​บริบูรณ์ ใน​การ​ศึกษา​เปรียบ​เทียบ​ขั้น​ตอน​การ​เจริญ​ของ​สัตว์​แต่ละ​ชนิด จำ�แนก​การ​
เจริญ​ของ​เอ็มบริโอ​ออก​เป็น 4 ระยะ คือ คลี​เวจ (cleavage) ระ​ยะบล​ าส​ ตู​ลา (blastulation) ระ​ยะแ​ กส​ ต​ รู​ลา
(gastrulation) และก​ ารเ​กิดร​ ูป​ร่าง​ของ​เอ็มบริโอ ภาพท​ ี่ 2.38 แสดงก​ าร​เจริญ​ของเ​อ็มบริโอ​สัตว์
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127