Page 124 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 124
2-114 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.2 ระยะบลาสตูลา ลักษณะพิเศษของเอ็มบริโอที่เจริญถึงขั้นบลาสตูลาคือ เอ็มบริโอมีรูปร่าง
ทรงกลมที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงรายอยู่ในตำ�แหน่งที่เฉพาะเจาะจงล้อมรอบช่องว่างตรงกลางซึ่งเรียกว่า
บลาส โตซ ีล (blastocoel) เซลล์เล็กๆ แต่ละเซลล์ร อบบ ล าส โตซีลเรียกว ่า บล าสโตเมียร์ (blastomere) และ
กลุ่มข อง บล าส โตเมียร์เรียกว ่าบล าสโตเดิร์ม ดังภ าพท ี่ 2.38 (ข) ที่แสดงเอ็มบริโอของสัตว์ม ีกระดูกสันหลัง
ระย ะบล าสตูลาซึ่งถูกต ัดขวางต ามแ นวต ั้ง บลาสโตซีลถ ูกล ้อมร อบด้วย บล าส โตเดิร์ม ที่เป็นเซลล์ชั้นเดียว
บล าส ตูล าข องพ วกน ก มีล ักษณะแ ตกต ่างจ ากส ัตว์พ วกท ี่ก ล่าวม าแ ล้ว กล่าวค ือ ช่องว ่างท ี่ป รากฏใน
เอ็มบริโอข ั้นน ี้จ ะเห็นอ ยู่ร ะหว่างเซลล์ด ้านบ นท ี่แ บ่งต ัวได้เป็นแ ผ่นก ลุ่มเซลล์ (germinal disc) และไข่แ ดงซ ึ่ง
อยูเ่กือบเต็มเซลลใ์ตแ้ ผ่นก ลุ่มเซลล์ช่องว ่างท ีเ่กิดจ ากไขแ่ ดงบ ริเวณน ั้นถ ูกใชห้ มดไป (subgerminal space)
ระยะน ี้เรียกว ่า บล าสโตด ิสก์ (blastodisc)
บลาสตูลาของคนและสัตว์ที่มีรกมีลักษณะแตกต่างจากสัตว์อื่นๆ เอ็มบริโอขั้นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะ
ว่า บลาสโตซีสต์ (blastocyst) ซึ่งมีลักษณะรอบนอกคล้ายระยะบลาสตูลาของพวกที่มีไข่แดงเล็กน้อย
และกระจายทั่วไป บลาสโตซีสต์ประกอบด้วยเซลล์ชั้นเดียวอยู่รอบนอก และมีกลุ่มเซลล์ทางด้านบนเหนือ
ช่องว่างซึ่งเทียบได้กับบลาสโตซีลในสัตว์อื่นๆ ส่วนในสัตว์อีกพวกหนึ่งที่มีไข่อยู่บริเวณตรงกลางเซลล์ เช่น
ไข่แมลง เอ็มบริโอระยะบล าสตูลาปร ะกอบด ้วยเซลล์ที่เรียงตัวชั้นเดียวอยู่ร อบนอกห่อห ุ้มส ่วนที่เป็นไข่แ ดง
ไว้โดยไม่มีช ่องว่าง บล าสโตซีล
2.3 ระยะแกสตรูลา เป็นกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของเอ็มบริโอเพื่อจัดกลุ่มเซลล์ที่ถูก
กำ�หนดใหเ้ ปน็ อ วยั วะต า่ งๆ ของร ่างกาย ใหอ้ ยใู่นต ำ�แหนง่ ท สี่ มควร กลุม่ เซลลบ์ ล าส โตเดริ ม์ ซ ึง่ ไดเ้ รยี งต วั อย่าง
มีแ บบแผนในร ะย ะบล าส ตูล าจ ะถ ูกจ ัดร ะเบียบใหม่โดยว ิธีก ารเคลื่อนที่ข องเซลล์แ บบต ่างๆ การเคลื่อนที่ข อง
กลุ่มเซลล์ในระยะแกส ตรูล าน ี้ท ำ�ให้เกิดช ั้นต ่างๆ ของเอ็มบริโอข ึ้น 3 ชั้น คือ ชั้นน อก (ectoderm) ชั้นกลาง
(mesoderm) และชั้นใน (endoderm) ดังภาพที่ 2.38 วิธีการเคลื่อนที่ของกลุ่มเซลล์ดังกล่าวมีหลายแบบ
ดังต่อไปนี้
2.3.1 การบ มุ๋ เขา้ ข า้ งใน (invagination) ชั้นเซลลบ์ ุ๋มต ัวเข้าส ูภ่ ายในห รือก ลุ่มเซลลเ์ว้าเข้าภ ายใน
ตัวอย่างเช่น การเกิดระย ะแ กสตรูลาของห อยเม่น
2.3.2 การคลมุ ต วั (epiboly) เซลล์บริเวณท ี่ม ีการแบ่งตัวรวดเร็วก ว่าบริเวณอื่นเคลื่อนที่ลงม า
คลุมบ ริเวณที่ม ีการแ บ่งตัวช้าก ว่า ตัวอย่างเช่น ระยะต ้นของแกสต รูล าในพวกกบ
2.3.3 การม้วนตัว (involution) กลุ่มเซลล์ม้วนตัวเข้าสู่ภายใน ตัวอย่างเช่น การม้วนตัวของ
กลุ่มเซลล์ชั้นก ลางในก บ
2.3.4 การแยกตัว (delamination) ชั้นเซลล์ที่อยู่ติดกันแยกตัวออกเป็น 2 ชั้น ตัวอย่างเช่น
การแ ยกต ัวข องเซลล์ในเอ็มบริโอไก่เกิดเป็น 2 ชั้น
การศ ึกษาโดยอาศัยก ารย ้อมส ีท ี่ไม่เป็นอ ันตรายก ับเซลล์เพื่อต ิดตามป รากฏการณ์ก ารเคลื่อนที่ข อง
กลุ่มเซลล์เพื่อเกิดเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของเอ็มบริโอส ัตว์แ ต่ละชนิดได้พบว ่าว ิธีก ารเกิดเนื้อเยื่อช ั้นนอกแ ละช ั้น
กลางของเอ็มบริโอสัตว์หลายช นิดคล้ายก ัน แต่ที่แตกต ่างก ันไปก็ค ือก ารเกิดเนื้อเยื่อชั้นใน และพบว่าค วาม
แตกต่างดังกล่าวม ีความส ัมพันธ์ก ับร ูปแ บบที่แ ตกต ่างก ันในร ะยะท ี่เป็นบลาสตูลา