Page 88 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 88

2-78 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

คพาืชรพ​์บ​วอกก​น​ซ2ี้ ิลไ.2ด2	้แวกหัฏ่มจขู่้าักแวรลโพะCเ​ดร4ียข(กC้าวพ​4​ฟ-ืชp่า​พaงวtแhกลw​ทะี่​มaอ​yี​ก้อ)ายรส​ตารรึง​ตค​ัวา​แรร์บกอ​ทนี่​เไกดิดอ​ขอึ้นก​เไปซ็นดก์โ​ด​รยดว​​ทิธี่​มี​นี​คี้ว​า่ารพ์บืชอ​ซนี4  4 อะตอม และ​มี​หมู่​
                                                                                                                                                                                                                 (C4-plant) ตัวอย่าง​

หรือ​พี​อี​พสี า(รp​ตhัวo​แspรกh​ทoeี่​เขn้าo​ทlpำ�​yปrฏuิกvิรaิยteา​กหับร​คือารP์บEอPน)ไโดดอยอ​อกาไศซัยด​ก์​ในิจก​วัฏรรจมัก​ขรอCง​เ4อนได​ไซ้แมก์่ฟฟออสสโฟโฟ​อ​อี​นี​นออลล​ไ​ไพพ​ร​รู​เวู​เวตต​-​

คาร์บ​ อกซ​ ิเลส (PEP carboxylase) เกิดเ​ป็นก​รด​ออก​ซาโลอะเ​ซต​ ิก (oxaloacetic acid) และจ​ ะ​เปลี่ยน​ไป​

เป็นก​รดม​ าล​ ิก (malic acid) โดยก​ ิจกรรมข​ อง​เอนไซม์​มาเ​ลตด​ ี​ไฮโ​ดรจ​ ี​เนส (malate dehydrogenase) โดย​

มี NADPกHร2ดเม​ปา็น​ล​โิกคท​แ​ ี่เ​ฟกกิดเ​ขตึ้นอจ​ระ์ ​ถูกเ​อนไซม์​มาล​ ิก (malic enzyme) ดึงค​ าร์บอนไดออกไซด์​ออก​จากโ​มเลกุล​

เกิด​เป็นก​รดไ​พรูว​ ิก​ขึ้น ดัง​สมการ

         malic acid + NADP malic enzyme pyruvic acid + CO2 + NADPH2

       กรดไ​พรูว​ ิกท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นจ​ ะถ​ ูกฟ​ อสฟอร​ ิเลส (phosphorylated) กลายเ​ป็น PEP ซึ่งเ​ป็นส​ ารเ​ริ่มต​ ้นข​ อง
วัฏจักรต​ ่อไ​ป ส่วนค​ าร์บอนไดออกไซด์ท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นจ​ ะท​ ำ�ป​ ฏิกิริยาก​ ับ RuBP หรือ RuDP ที่จ​ ะส​ ร้างน​ ํ้าตาลต​ ่อไ​ป​
โดย​วิธีก​ าร​เดียวกัน​กับใ​นว​ ัฏจักรค​ าล​ ว​ ิน

       2.3	วัฏจักร​ซี​เอ​เอ็ม (CAM) พืช​ที่​อยู่​ใน​วงศ์​แค​รส​ซู​ลา​ซี​อี (Crassulaceae) ซึ่ง​เป็น​พืช​อวบ​นํ้า​จะ​มี​
ปรากฏการณก์​ ารเ​พิ่มข​ ึ้นล​ งข​ องก​ รดอ​ ินทรียต์​ ามเ​วลาข​ องช​ ่วงว​ ัน โดยใ​นเ​วลาก​ ลางว​ ันป​ ริมาณข​ องก​ รดอ​ ินทรีย​์
จะล​ ดล​ ง และจ​ ะค​ อ่ ยๆ เพิม่ ส​ งู ข​ ึน้ ใ​นเ​วลาก​ ลางค​ นื การเ​ปลีย่ นแปลงข​ องก​ รดอ​ นิ ทรยี ด​์ งั ก​ ลา่ วน​ มี​้ ผ​ี ลท​ ำ�ใหค​้ วาม​
เป็นกร​ ด​เบส​ของเ​ซลล์เ​ปลี่ยน​ไปด​ ้วย โดย​ในเ​วลา​กลาง​คืน pH ของเ​ซลล์​จะล​ ด​ลง และจ​ ะค​ ่อยๆ เพิ่ม​สูง​ขึ้น​ใน​
เช้าข​ องว​ ันถ​ ัดไ​ป ปรากฏการณ์น​ ี้ย​ ังพ​ บใ​นพ​ ืชอ​ ื่นๆ อีก เช่น กระบองเ​พชร กล้วยไม้ และส​ ับปะรด เรียกพ​ ืชพ​ วก​
นี้ว​ ่า พืช CAM (Crussulacean Acid Metabolism plants)

       สาเหตุ​ที่​สำ�คัญ​ที่​ทำ�ให้​ปริมาณ​กรด​เพิ่ม​หรือ​ลด​ตาม​เวลา​ของ​ช่วง​วัน ได้แก่ ลักษณะ​พิเศษ​ของ​การ​
ตรึง​คาร์บอนไดออกไซด์​ของพ​ ืช​พวก​นี้ โดยที่​ใน​เวลาก​ ลางค​ ืนร​ ูป​ ากใ​บ​จะ​เปิด คาร์บอนไดออกไซด์จ​ ะถ​ ูก​ดูด​
เข้าม​ าเ​พื่อ​ทำ�​ปฏิกิริยาก​ ับ PEP เกิด​เป็นก​รด​ออก​ซา​ลิก และก​ รด​มาล​ ิก​ขึ้นโ​ดย​อาศัยก​ ลไก​ของ​เอนไซม์ต​ ่างๆ
เช่นเ​ดียวก​ ับใ​นว​ ัฏจักร C4

       กรดม​ าล​ ิกจ​ ะส​ ะสมอ​ ยู่ใ​นเ​ซลล์ต​ ลอดค​ ืน จนก​ ระทั่งถ​ ึงเ​ช้า เอนไซม์ม​ าล​ ิกจ​ ะเ​ปลี่ยนก​ รดม​ าล​ ิกใ​ห้เ​ป็น​
กร​ ดไ​พรูว​ ิก​และ​คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งค​ าร์บอนไดออกไซด์ท​ ี่​เกิดข​ ึ้นน​ ี้จ​ ะ​ทำ�​ปฏิกิริยาก​ ับ RuBP หรือ RuDP
จน​เกิด​เป็น​นํ้าตาล​ขึ้น ส่วน​กรด​ไพรู​วิก​นั้น​จะ​ถูก​เปลี่ยน​ไป​เป็น PEP โดย​เอนไซม์​ไพ​รู​เวต​ฟอสเฟต​ไค​เนส​
(pyruvate-phosphate ikinase)

       PEP จะถ​ ูกเ​ปลี่ยนไ​ปเ​ป็นน​ ํ้าตาลโ​ดยก​ ระบวนการย​ ้อนก​ ลับข​ องไ​กลโ​คล​ ซิ​ ิส สำ�หรับน​ ํ้าตาลท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นน​ ี​้
จะ​ถูก​เก็บ​สะสม​ไว้​ใน​เวลา​กลาง​วัน พอ​ถึง​เวลา​กลาง​คืน​นํ้าตาล​ก็​จะ​ถูก​ออก​ซิ​ไดซ์​ให้​เป็น PEP ซึ่ง​เป็น​สาร​
ตัว​แรก​ที่จ​ ะ​เข้าท​ ำ�​ปฏิกิริยาก​ ับ​คาร์บอนไดออกไซด์ต​ ่อ​ไป ภาพ​ที่ 2.28 แสดง​การ​เปรียบ​เทียบว​ ัฏจักร C4 และ​
วัฏจักร CAM
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93