Page 89 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 89

กระบวนการด​ ำ�รงช​ ีวิต 2-79

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์                        แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

                             วัฏจักร C4                                  วัฏจักร C4 กลางคืน
                      แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์                        แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

                           วัฏจักรคาลวิน                               วัฏจักรคาลวิน กลางวัน

                                    กลูโคส กลูโคส
                                    พชื C4 พชื CAM

                        ภาพ​ท่ี 2.28 เปรยี บ​เทยี บว​ ัฏจักร C4 และ​วัฏจักร CAM

3. 	ปจั จยั ​ท่ี​ม​ีผลต​ อ่ ​การส​ ังเคราะหด​์ ้วยแ​ สง

       การส​ ังเคราะหด​์ ้วยแ​ สงเ​ป็นกร​ ะบ​ วนก​ ารท​ ีม​่ คี​ วามส​ �ำ คัญอ​ ย่างย​ ิง่ ต​ ่อก​ ารเ​จริญเ​ติบโตข​ องพ​ ืช ถ้าพ​ ืชใ​ด​
มี​อัตรา​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง​สูง​ก็​จะ​เจริญ​เติบโต​ได้​รวดเร็ว แต่​ถ้า​พืช​ใด​มี​อัตรา​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง​ตํ่า​
การ​เจริญ​เติบโต​ก็​อาจ​จะ​เป็น​ไป​อย่าง​ช้าๆ ปัจจัย​ที่​สำ�คัญ​ที่​มี​บทบาท​ต่อ​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง ได้แก่ แสง
อุณหภูมิ นํ้า ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ธาตุอ​ าหารพ​ ืช และพ​ ื้นที่ผ​ ิวใ​บ

       3.1 แสง แสง​อาทิตย์​หรือ​แสง​ไฟฟ้า​มี​ประโยชน์​ต่อ​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง การสังเคราะห์ด้วยแสง
ขึ้นก​ ับค​ ุณภาพ​ของแ​ สง ความ​เข้ม​ของแ​ สง และค​ วาม​ยาวนาน​ของ​แสงท​ ี่​พืชไ​ด้ร​ ับ

            3.1.1 คณุ ภาพข​ องแ​ สง แสงท​ ีม่​ ปี​ ระโยชนต์​ ่อก​ ารส​ ังเคราะหด์​ ้วยแ​ สงต​ ้องเ​ป็นแ​ สงท​ ีม่​ คี​ วามยาว​
คลื่น​อยู่​ใน​ช่วง​คลื่น​ที่​ตา​สามารถ​มอง​เห็น​ได้ แสง​จาก​ดวง​อาทิตย์​ประกอบ​ด้วย​แสง​สี​ต่างๆ ที่​จำ�เป็น​ต่อ​การ​
สังเคราะห์​ด้วย​แสง​อย่าง​ครบ​ถ้วน​โดย​เฉพาะ​สี​แดง​และ​สีนํ้าเงิน แสง​จาก​หล​อด​ฟลู​ออ​เรส​เซนต์​ให้​แสง​สี​แดง​
และสีนํ้าเงินเ​ป็นจ​ ำ�นวนม​ ากจ​ ึงม​ ีผ​ ลใ​กล้เ​คียงก​ ับแ​ สงอ​ าทิตย์ ส่วนห​ ลอดไ​ฟก​ ลมห​ รือห​ ลอดอ​ ินแ​ คนเ​ดสเ​ซนต​์
มี​แสง​สีแ​ ดงแ​ ละ​สี​ฟาร์เรด (far-red) มาก แต่​ไม่มี​สีนํ้าเงิน​จึงไ​ม่​ควร​นำ�ม​ า​ใช้แ​ ทนแ​ สงอ​ าทิตย์​ในก​ าร​ปลูก​พืช

            3.1.2 ความเ​ขม้ ข​ องแ​ สง การ​เพิ่ม​ความเ​ข้ม​ของ​แสง​ให้​สูง​ขึ้นจ​ ะ​ทำ�ให้พ​ ืชม​ ีอ​ ัตราก​ ารส​ ังเคราะห​์
ด้วย​แสง​เพิ่ม​ขึ้น​จน​กระทั่ง​ถึง​จุด​หนึ่ง​ที่​การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง​จะ​ไม่​เพิ่ม​ขึ้น​แม้​จะ​เพิ่ม​ความ​เข้ม​ของ​แสง​ให้​
สูงข​ ึ้น (light saturation point) ซึ่ง​ต่างก​ ันใ​น​พืชแ​ ต่ละช​ นิด โดย​ทั่วไป พืช C4 มีจ​ ุดท​ ี่ม​ ีก​ าร​สังเคราะห์​ด้วย​
แสง​มาก​สูง​กว่า พืช C3 หาก​เพิ่ม​ความ​เข้ม​ของ​แสง​ให้​มาก​เกิน​ไป อาจ​มี​ผล​ทำ�ให้​อัตรา​การ​สังเคราะห์​ด้วย​
แสง​ของ​พืช​ลด​ลง​หรือ​หยุด​ชะงัก​ได้ ทั้งนี้ เพราะ​ความ​เข้ม​ของ​แสง​ที่​มาก​เกิน​ไป​จะ​ทำ�ให้​รู​ปาก​ใบ​ปิด ทำ�ให้​
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94