Page 49 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 49

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 13-39

                               ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน

      คะแนน/ระดับ                                      คำ� อธบิ ายระดบั
เน้ือหา (content)
30-27 ดีเยี่ยม–ดีมาก           แสดงความรู้ความเข้าใจ ได้ประเด็นสมบูรณ์และไม่ออกนอกเรื่อง
26–22 ดี–ปานกลาง               แ สดงความรพู้ อประมาณ การดำ� เนนิ เรอ่ื งถกู จำ� กดั ประเดน็ หลกั ใหญ่ สมบรู ณ์
                               แต่ยังขาดรายละเอียด
21–17 พอใช้–อ่อน               แสดงความรู้ที่จ�ำกัด เนื้อหา การด�ำเนินเรื่องไม่ดีพอ
16–13 อ่อนมาก                  ไม่แสดงความรู้เลย เน้ือหาน้อย หรือไม่เพียงพอท่ีจะประเมิน
การเรียบเรยี ง (organization)
20-18 ดีเย่ียม–ดีมาก           แสดงความคิดเห็นอย่างคล่องและชัดเจน มีข้อสนับสนุน การเรียบเรียงดี
                               กระชับรัดกุม มีการจัดล�ำดับเหตุผลและความสอดคล้องดี
17–14 ดี–ปานกลาง               ก ารเขียนเรียงความไม่ต่อเน่ือง ประเด็นหลักชัดเจนดี ข้อมูลมีเหตุมีผลแต่
                               น้อยไป การเรียงล�ำดับข้อความไม่สมบูรณ์
13-10 พอใช้–อ่อน               การเขียนเรียงความไม่ต่อเนื่อง การด�ำเนินเรื่องสับสน หรือไม่ต่อเนื่อง ขาด
                               ความสมเหตุสมผล
9-7 อ่อนมาก                    ไม่สามารถส่ือสารได้ ไม่มีการเรียบเรียงความ หรือไม่สามารถท่ีจะประเมินได้
การใช้ค�ำศัพท์ (vocabulary)
20-18 ดีเยี่ยม–ดีมาก           วงค�ำศัพท์กว้าง มีความรู้ ใช้ค�ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถสูงใน
                               การใช้รูปแบบที่เหมาะสม
17–14 ดี–ปานกลาง               ใ ช้วงค�ำศัพท์กว้างพอ มีการใช้ศัพท์ ส�ำนวน การเลือกค�ำผิดในบางครั้งแต่
                               ความหมายชัดเจน
13–10 พอใช้–อ่อน               ศัพท์ในวงจ�ำกัด ใช้ศัพท์ส�ำนวน การเลือกค�ำผิดบ่อย ๆ
9–7 อ่อนมาก                    ศัพท์ในวงจ�ำกัดมาก ความหมายไม่ชัดเจน สับสน
การใช้ภาษา (language use)
25-2 ดีเย่ียม–ดีมาก            ใช้โครงสร้างซับซ้อนอย่างมีประสิทธิภาพ ผิดน้อยมากเร่ืองความสอดคล้อง
                               ของการใช้ประธาน กริยา กาล การเรียงค�ำตามหน้าท่ี ค�ำสรรพนาม บุพบท
21–18 ดี–ปานกลาง               และค�ำน�ำหน้านาม
                               ใช้โครงสร้างธรรมดาไม่ซับซ้อนแต่มีประสิทธิภาพ มีปัญหาเล็กน้อยในการใช้
                               โครงสร้างซับซ้อน มีที่ผิดหลายแห่งด้านความสอดคล้องของไวยากรณ์
                               ตลอดจนการใชก้ าล การเรียงคำ� ตามหนา้ ที่ การใช้คำ� น�ำหน้านาม คำ� สรรพนาม
                               คำ� บพุ บท การใชว้ ลตี อ่ เนอ่ื งอนปุ ระโยคและการละคำ�  แตค่ วามหมายสว่ นใหญ่
                               ชัดเจน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54