Page 56 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 56

13-46 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

ส่วนตวั ผู้เขียนคิดว่าผู้สอนควรค�ำนึงถึงลักษณะธรรมชาตขิ องเนื้อหา วิชา และวัตถุประสงค์ของบทเรียน และ
รายวิชาเป็นส�ำคัญ ซ่ึงจากจุดน้ีจะเห็นได้ว่า ข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ แบบถูกผิด แบบจับคู่ที่มีค�ำตอบ
ตายตัวแต่เพียงลักษณะเดียวคงไม่สามารถสะท้อนให้เห็นความสามารถทางภาษาที่แท้จริงของผู้เรียนและ
ให้ข้อมูลในส่วนของรายละเอียดที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างครอบคลุม ดังน้ันข้อสอบ
จึงควรมีรูปแบบและลักษณะที่หลากหลาย เช่น ควรมีรูปแบบที่เน้นการปฏิบัติ มีการให้เขียนตอบ มีการตอบ
ปากเปล่า มีการประเมินผลงาน/ช้ินงาน เป็นต้น โดยแต่ละรูปแบบ/ลักษณะสามารถให้ข้อมูลที่แตกต่างกัน
อย่างกว้าง ๆ ดังน้ี

       1.1	 การวัดและประเมินผลอย่างเป็นทางการ (formal asessement) เป็นรูปแบบของการวัดและ
ประเมินผลท่ีใช้มากในศาสตร์การศึกษา เป็นการวัดท่ีมีการวางแผนล่วงหน้า อย่างเป็นระบบโดยครูผู้สอน
เพื่อตรวจสอบความรู้ท่ีผู้เรียนได้เรียนไป การวัดจะเช่ือมโยงกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา หรือบทเรียนและ
ผู้เรียนมีเวลาเตรียมตัวในการสอบ ซึ่งประกอบด้วย

            1)	 ข้อสอบแบบเขียนตอบ ( paper-pencil tests) แบ่งเป็น
                -	 ข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ แบบถกู -ผดิ แบบจับคู่ ผลการสอบจะให้ข้อมลู เกย่ี วกับ

ความรูค้ วามเข้าใจในภาพรวมของผูเ้ รยี นอาจสามารถระบุจดุ ออ่ นจดุ อ่อน จุดด้อยของผเู้ รยี นได้หากใช้ในการ
ประเมินบางทักษะ เช่น ทักษะการอ่าน ในกรณีท่ีต้องการทราบว่าผู้เรียนมีปัญหาเก่ียวกับทักษะย่อยทักษะใด
ของการอ่าน เช่น การจับใจความส�ำคัญ การระบุความหมายของค�ำศัพท์ เป็นต้น แต่หากน�ำมาใช้ในการวัด
และประเมนิ ผลทกั ษะการฟงั -พดู การทผี่ เู้ รยี นไดค้ ะแนนสงู อาจบอกไดว้ า่ ผเู้ รยี นมคี วามรเู้ กย่ี วกบั การใชภ้ าษา
แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าผู้เรียนสามารถใช้ภาษาได้จริงหรือไม่

                -	 ข้อสอบอัตนัยแบบเขียนตอบ ผลการสอบจะช่วยในการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของ
ผเู้ รยี นได้ อาทิ ในรายวชิ าการเขยี น ผสู้ อนสามารถวเิ คราะหข์ อ้ บกพรอ่ งในการเขยี นของผเู้ รยี นไดจ้ ากใหผ้ เู้ รยี น
เขียนเรียงความ หรือ ในรายวิชาการอ่าน หากผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนใจความส�ำคัญ (main idea) ของเน้ือหา
ทอ่ี า่ น นอกจากผสู้ อนจะรไู้ ดว้ า่ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการจบั ใจความสำ� คญั ไดห้ รอื ไมแ่ ลว้ ผสู้ อนยงั สามารถ
วินิจฉัยได้ว่าสาเหตุคืออะไร เช่น อาจพบว่าผู้เรียนเขียนใจความส�ำคัญในรูปของวลีแทนการเขียนในรูปของ
ประโยค ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนเกิดความสับสนระหว่าง หัวเร่ือง (title/topic) หรือ ประเด็นที่อ่าน เป็นต้น

            2) 	ข้อสอบที่เน้นการปฏิบัติ (Performance test) เช่น การให้ผู้เรียนสนทนา สัมภาษณ์
น�ำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน เป็นต้น ผลการสอบจะให้ข้อมูลที่เป็นรายละเอียดเก่ียวกับองค์ประกอบของ
ความสามารถในแต่ละด้านของผู้เรียน ท้ังในด้านการออกเสียง การใช้ท�ำนองเสียงสูง-ตํ่า การใช้สีหน้าท่าทาง
และความถูกต้องเหมาะสมของการใช้ภาษา

       1.2	 การวัดและประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (informal assessment) เป็นการวัดและประเมินผล
ท่ีเกิดจากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติในชั้นเรียนของผู้เรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีไม่มี
การเตรียมล่วงหน้าหากเกิดตามสภาพจริงในชั้นเรียน ซ่ึงจะให้ข้อมูลในเชิงลึกเกี่ยวกับความเข้าใจท่ีคลาด-
เคลอ่ื นของผู้เรียนหรอื ความสามารถท่ีไมส่ ามารถวดั ได้จากจากวัดดว้ ยการทดสอบอยา่ งเปน็ ทางการ ตวั อยา่ ง
ของการวัดและประเมินอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน การถาม-ตอบ การเขียนบันทึก
การเรียนรู้ เป็นต้น
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61