Page 53 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 53
การบรหิ ารงานโรงภาพยนตร์ 11-41
ยงั มโี รงภาพยนตรเ์ ฉลมิ ไทย ซง่ึ ปจั จบุ นั เนน้ การแสดงมหรสพ (อนง่ึ ในปี พ.ศ. 2553 โรงภาพยนตรส์ ยาม
ถูกปิดเพราะไฟไหม้)
กลมุ่ ที่เจด็ โรงภาพยนตร์เครือเอน็ เค ดำ� เนนิ การโดยบรษิ ัท เอน็ .เค.เอน็ เตอรเ์ ทนเมนท์ จ�ำกดั มี
โรงภาพยนตร์ในช่วงปี พ.ศ. 2550 ในเครือ 3 สาขา คอื เดอะมอลล์ ท่าพระ เซน็ ทรลั รตั นาธเิ บศร์ และ
นวนคร รวม 7 โรง ประมาณ 1,000 ที่น่งั ปจั จุบัน พ.ศ. 2557 ได้ปิดตวั ลงโดยสาขาเดอะมอลลท์ า่ พระ
และเซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์ บริษัทเอสเอฟได้ด�ำเนินกิจการแทน ส่วนสาขานวนครได้ปิดตัว (www.
wikipedia.org)
กลมุ่ ทแี่ ปด โรงภาพยนตรเ์ ครือเซน็ จูร่ี ในชว่ งปี พ.ศ. 2550 มโี รงภาพยนตร์ 1 สาขา คือ เซ็นจรู ่ี
เดอะมูฟว่ี พลาซ่า รวม 7 โรง 1,000 ท่ีนั่ง ซึ่งหากพิจารณาไปก็จะพบว่า เป็นหน่ึงในพี่น้องตระกูล
พูลวรลกั ษณ์ คือ คุณเกษม พูลวรลกั ษณ์ เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ (ถนอมศักด์ิ จิรายสุ วสั ด,ิ์ 2552: 27-28)
จากงานวจิ ัยของอุษา ไวยเจรญิ (2550) พบวา่ โรงภาพยนตรใ์ นลักษณะเครอื มอี ยู่ 8 กล่มุ ใน
ช่วงปลายทศวรรษที่ 2540 แตใ่ นปจั จบุ นั (พ.ศ. 2557) กม็ กี ารปรับตัวเหลือเพียง 6 กลุม่ บางแห่งปดิ ตัว
และบางแหง่ ก็รวมกิจการกัน คอื (1) กล่มุ บรษิ ทั ทีใ่ หญท่ ี่สดุ คอื โรงภาพยนตร์เครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ รอง
ลงมาคือ (2) โรงภาพยนตร์เครือเอสเอฟ ส่วนอีกสี่แห่ง เป็นเครือโรงภาพยนตร์ที่มีขนาดเล็ก ได้แก่
(3) โรงภาพยนตร์เครือยูเอ็มจี (4) โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์ (5) โรงภาพยนตร์เครือเมเจอร์ฮอลลีวูด
(6) โรงภาพยนตร์เครอื เซ็นจรู ่ี
อยา่ งไรกด็ ี เครอื โครงภาพยนตรท์ พ่ี บเหน็ จากขา้ งตน้ เปน็ เครอื โรงภาพยนตรท์ เ่ี ปดิ เผยขอ้ มลู อยา่ ง
เป็นทางการเทา่ นนั้ แตใ่ นความเปน็ จรงิ เครอื โรงภาพยนตรบ์ างแห่งท่ีไม่เปิดเผยใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจนเพราะ
เปน็ โรงหนงั ชน้ั สอง และโรงหนังท่ฉี ายหนงั โป๊เปลือย
ดงั นน้ั ไมเ่ พยี งแตโ่ รงภาพยนตรช์ น้ั หนง่ึ จะเปน็ เครอื โรงภาพยนตรช์ น้ั สองกม็ ลี กั ษณะเปน็ เครอื ขา่ ย
เชน่ กนั จากงานของ ทศพร โขมพตั ร (2544: 128-129, 132, 206) ระบุวา่ โรงภาพยนตร์ชน้ั สองในช่วง
ต้นทศวรรษที่ 2540 จะมสี องลักษณะคือ เป็นเครอื และประกอบการแบบโรงเดียว โดยท่ีแบบแรกท่ีเปน็
เครอื นน้ั เกดิ ขน้ึ จากการทผ่ี ปู้ ระกอบการมพี นื้ ทโ่ี รงภาพยนตรจ์ ำ� นวนมาก ประกอบทงั้ เปน็ เจา้ ของสายหนงั
จึงทำ� ใหม้ อี ำ� นาจในการต่อรองและสามารถด�ำรงโรงภาพยนตรช์ น้ั สอง
ในช่วงเวลาดังกล่าว บริษัทรายใหญ่ท่ีเป็นทั้งเจ้าของโรงหนังชั้นสองและสายหนังคือ บริษัท
นครหลวงโปรโมชนั่ ดำ� เนนิ การโรงภาพยนตรแ์ หง่ แรก คอื นครหลวงรามา พ.ศ. 2522 ในชว่ งตน้ ทศวรรษ
ท่ี 2540 ทศพร พบว่า เครอื โรงภาพยนตรแ์ หง่ น้ดี �ำเนินการโดยตระกลู พสิ ิฐวฒุ นิ นั ท์ และมีโรงภาพยนตร์
ถึง 10 โรง ได้แก่ กรุงสยาม งามวงศ์วานรามา นครนนท์ ปารีส ดาวสยามเธียเตอร์ นครหลวงรามา
ผึ้งหลวงรามา เฉลิมศรี ศรีสยาม ส�ำโรงรามา (ท้ังน้ี โรงที่ท�ำสัญญาเช่า คือ ปารีส ดาวสยาม ผ้ึงหลวง
ส�ำโรงรามา) ด�ำเนนิ ธรุ กจิ ภาพยนตรใ์ นตา่ งจงั หวดั ได้แก่ นิวเวลิ ด์ สระบุรี ทวีกิจ 1 และ 2 นอกจากนน้ั
ในช่วงต้นทศวรรษที่ 2540 ยังด�ำเนินกิจการโรงชั้นหนึ่งคือ เอ็นเค (NK) รัตนาธิเบศร์ และเดอะมอลล์
ทา่ พระ อกี ทงั้ ใชว้ ธิ กี ารเชา่ โรงภาพยนตรช์ น้ั สองในพนื้ ทที่ ต่ี นเองไมม่ โี รงภาพยนตรอ์ กี ดว้ ย ในทางตรงกนั
ข้ามกรณีของการประกอบการรายเดียวมักจะล้มหายและเปล่ียนการฉายหนังเป็นหนังโป๊เปลือยแทน
อย่างไรก็ดใี นชว่ งปัจจุบัน พ.ศ. 2557 โรงภาพยนตรช์ ั้นสองในเครอื นก้ี ็มปี รมิ าณลดลง