Page 54 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 54
11-42 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
การมีโรงภาพยนตร์ช้ันสองจำ� นวนมาก ทศพร โขมพัตร (2544: 166) ระบุว่า เร่ิมเป็นภาระของ
ผปู้ ระกอบการ เพราะเก่ียวข้องกับคา่ ใชจ้ ่ายทสี่ ูงข้นึ ของบคุ ลากร แมว้ า่ การลงทุนจะผา่ นจดุ คุ้มทนุ ไปแล้ว
ก็ตาม แต่จะให้มีการปรับขยับขยายก็ค่อนข้างยากเพราะต้องลงทุนระบบเพ่ิม จึงต้องตัดสินใจปรับการ
ด�ำเนนิ การธุรกจิ นี้ เชน่ ปรบั ตัวสกู่ ารสร้างโรงภาพยนตรใ์ นห้างสรรพสนิ ค้า การปิดตัวโรงภาพยนตร์ท่ไี ม่
ท�ำก�ำไรเพ่ือประหยัดต้นทุนให้มากที่สุด ในกรณีโรงเช่าก็จะยุติการเช่า การเลือกแนวทางการปรับตัวเน้น
เนอ้ื หาทางเพศ
เหตุผลส�ำคัญของการด�ำเนินการธุรกิจแบบขยายกิจการโรงภาพยนตร์เป็นเครือ ก็คือ ท�ำให้การ
สร้างอ�ำนาจในการต่อรองการเลือกภาพยนตร์มีมากข้ึน ท�ำให้ต้นทุนในการโฆษณาต�่ำลง ท�ำให้การสร้าง
ภาพยนตร์หรอื การจดั ระบบจดั ซื้อ จัดจำ� หนา่ ย และชอ่ งทางการฉายภาพยนตรม์ กี ารรองรับซงึ่ กนั และกัน
และทำ� ใหโ้ รงภาพยนตรม์ ภี าพยนตรฉ์ ายอยา่ งตอ่ เนอื่ งปลอดปญั หาการขาดภาพยนตร์ (วสิ ตู ร พลู วรลกั ษณ์
และทศั นยี ์ จนั ทร, 2534: 282-283)
ในทางกลับกัน นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองกลับมองลึกลงไป รุ่งโรจน์ ธรรมต้ังมั่น
(2543: 70) ระบวุ า่ โครงสรา้ งตลาดของธรุ กจิ โรงภาพยนตรท์ มี่ ลี กั ษณะทเ่ี นน้ ผขู้ ายนอ้ ยรายแตม่ โี รงภาพยนตร์
ในเครอื จำ� นวนมาก มลี กั ษณะกระจกุ ตวั การแขง่ ขนั ตำ�่ นอกจากนน้ั รงุ่ โรจน์ ยงั ใหเ้ หตผุ ลทที่ ำ� ใหม้ ลี กั ษณะ
โครงสรา้ งดงั กล่าว ก็เนอ่ื งจากอุปสรรคของการเขา้ มาแข่งขัน (barriers to entry) ของการลงทนุ ในธรุ กจิ
โรงภาพยนตรท์ ่คี อ่ นข้างสูง ตอ้ งอาศยั เทคโนโลยจี ากต่างประเทศ มีผลทำ� ใหค้ นื ทนุ นาน หลักฐานปรากฏ
อยู่ในงานของธนภัทร สโุ สภิต (2542: 109) ระบตุ วั เลขการลงทนุ ดา้ นโรงภาพยนตรใ์ นชว่ งปี พ.ศ. 2542
อยู่ประมาณโรงละ 15-30 ลา้ นบาท และหากเป็นโรงใหญพ่ ิเศษจะใช้งบประมาณถงึ 50 ลา้ นบาท
อยา่ งไรกด็ ี ภายใตผ้ แู้ ขง่ ขนั ทมี่ นี อ้ ยรายกย็ งั มคี วามพยายามสรา้ งความแตกตา่ งของโรงภาพยนตร์
ดว้ ยการสรา้ งความแตกตา่ งในการใหบ้ รกิ าร (product differentiation) ไดแ้ ก่ ทำ� เล การสรา้ งความหลาก
หลายดว้ ยความบนั เทงิ ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั ดว้ ยธรุ กจิ ทม่ี คี แู่ ขง่ นอ้ ยจงึ ทำ� ใหโ้ รงภาพยนตรม์ กี ารแขง่ ขนั ในลกั ษณะ
“ความข้ึนต่อกันของคู่แข่งขันท่ีอยู่ในตลาด” (interdependence) หรือการตอบโต้กับกลยุทธ์คู่แข่งอื่นๆ
แตก่ จ็ ะไมไ่ ด้อยู่ในระดับรนุ แรง
ชญานิน ธนสุขถาวร (2556: 160) เสนอว่า การขยายตวั แนวนอนหรอื การขยายกิจการของเครอื
โรงภาพยนตรข์ นาดใหญน่ นั้ ยงั สง่ ผลกระทบตอ่ ระบบสายหนงั ไทย จากอดตี ทแี่ ตล่ ะพนื้ ทจี่ ะมสี ายหนงั คอย
ดูแล แต่เม่ือเครือโรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ได้รุกเข้าไปก็ส่งผลต่อระบบสายหนังท่ีต้องปรับตัว โดยเฉพาะ
การยกเลิกสายชานเมือง และการรวมตัวของสายเหนือและแปดจังหวัดโดยบริษัทธนารุ่งโรจน์ ส่งผลให้
เหลอื สายหนังเพียง 4 สาย คอื สายตะวันออก สายเหนือและแปดจังหวัด สายอีสาน และสายใต้
1.2 การขยายกิจการแนวตั้ง (vertical integration) หมายถึง การขยายกิจการข้ามไปสู่ธุรกิจ
อน่ื ๆ ดา้ นภาพยนตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ งหรอื การขยายกจิ การแบบครบวงจร ไดแ้ ก่ การผลติ ภาพยนตร์ การจดั ซอื้
ภาพยนตร์ ในกรณนี ้ใี นต่างประเทศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ าในอดตี เคยดำ� เนินการได้ แต่ต่อมาศาลไมอ่ นุญาต
ให้ด�ำเนินการและตั้งกฎหมายแอนตี้ทรัสต์ (Anti-Trust) (Hark, 2002: 2) เน่ืองจากข้อกังวลเร่ือง
การผลติ ภาพยนตร์ หากมไิ ดเ้ ปน็ เจา้ ของกอ็ าจจำ� กดั การเผยแพรใ่ นโรงภาพยนตรไ์ ดเ้ ชน่ กนั แตใ่ นกรณขี อง
ประเทศไทยการดำ� เนินการในลักษณะการขยายกิจการแนวตง้ั ยงั สามารถดำ� เนนิ ได้