Page 56 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 56

11-44 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
       ภายใตธ้ รุ กจิ ตน้ นำ�้  บรษิ ทั ดำ� เนนิ กจิ การบรษิ ทั ผผู้ ลติ ภาพยนตร์ นบั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2554 คอื บรษิ ทั

เอม็ เทอรท์ ี้ ไนน์ (M39) ทผ่ี า่ นมาผลติ ภาพยนตรเ์ รอื่ ง คกู่ รรม (2556) ฮาชมิ ะ โปรเจกต์ ไมเ่ ชอ่ื ตอ้ งหลบหลู่
(2556) นอกจากนน้ั ยงั มบี รษิ ทั ทาเลนท์ วนั ซงึ่ นอกจากทำ� ธรุ กจิ จดั พมิ พแ์ ละจำ� หนา่ ยพอ็ กเกต็ บกุ๊ แลว้ ยงั
ทำ� ธรุ กจิ การผลิตภาพยนตร์ (www.mpic-th.listedcompany.com/company_business.html) ทผี่ ่าน
มาผลิตภาพยนตรเ์ รอ่ื ง Last Summer ฤดรู อ้ นน้นั ฉนั ตาย (2556) (กองบรรณาธกิ าร, 2556b) และหาก
พิจารณาสายสัมพันธ์กับบริษัท จีทีเอช (GTH) ซ่ึงถือก�ำเนิดข้ึนในปี พ.ศ. 2528 โดยหนึ่งในลูกหลาน
ตระกลู พลู วรลกั ษณ์ คอื วสิ ตู ร พลู วรลกั ษณ์ ในเครอื อจี วี ี (ซง่ึ ปจั จบุ นั รวมตวั กนั กบั เมเจอรซ์ นี เี พลก็ ซแ์ ลว้ )
กไ็ ดเ้ ปดิ บรษิ ทั ผลติ ภาพยนตรน์ าม ไทเอนเทอรเ์ ทนเมนท์ สรา้ งผลงานทส่ี รา้ งชอ่ื จำ� นวนมาก และในปี พ.ศ.
2547 ไดร้ ่วมทุนกับบรษิ ัทจเี อม็ เอม็ พคิ เจอรส์ ในเครอื บรษิ ทั จเี อม็ เอ็มแกรมม่ี จำ� กัด (มหาชน) และบริษัท
หบั โหห้ ิน้ ฟลิ ์ม จำ� กัด จดั ต้ังบรษิ ทั จีเอม็ เอ็มไทหบั จ�ำกัด หรือจที เี อช (ถนอมศกั ดิ์ จริ ายุสวัสดิ์, 2552: 23)
ถึงแม้บริษัทจีทีเอช อาจมิได้เป็นบริษัทในเครือ แต่ก็อาจมองได้ถึงความสัมพันธ์เก่ียวข้องกันของธุรกิจ
ต้นน�้ำอีกทางหนงึ่

       ธรุ กจิ กลางนำ้� ของบรษิ ทั เมเจอรซ์ นี เี พลก็ ซ์ ไดแ้ ก่ (1) บรษิ ทั เอม็ พคิ เจอร์ ทำ� หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบซอ้ื
ลิขสทิ ธิแ์ ละจัดหาภาพยนตร์ฉายในโรงภาพยนตร์ ทีวี ซีดี ดีวดี ี (2) บริษัท เอ็ม วี ดี จดั ซอ้ื ภาพยนตรท์ �ำ
เป็นวีซีดี ดีวีดี นอกจากน้ัน ยังท�ำธุรกิจ (3) การให้เช่าแผ่นซีดี ดีวีดี ภายใต้ชื่อ บริษัทแปซิฟิค มีเดีย
เซลล์ (www.mpic-th.listedcompany.com/company_business.html)

       นอกจากเครือเมเจอรซ์ นี เี พล็กซแ์ ลว้ ธุรกิจโรงภาพยนตร์ท่ขี ยายกิจการไปสธู่ ุรกิจอนื่ ๆ อีก ไดแ้ ก่
เครือโรงภาพยนตร์เอเพ็กซ์ ก็ยังมีบริษัทน�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายภาพยนตร์ คือ บริษัทเอเพ็กซ์ อินเตอร์
เนชั่นแนล (อษุ า ไวยเจริญ, 2550: 29) บริษัทเอสเอฟ (SF) ซ่ึงทำ� โรงภาพยนตรม์ ัลติเพลก็ ซ์ กเ็ ตบิ โต
จากการเปน็ โรงภาพยนตรใ์ นตะวนั ออกในชว่ งปี พ.ศ. 2512 โดยคณุ สมาน ทองรม่ โพธิ์ และสวุ ฒั น์ ลกู ชาย
ก็รับผิดชอบต่อ ต่อมาก็สามารถขยายกิจการโรงภาพยนตร์ในภาคตะวันออกจ�ำนวนมาก และพัฒนาเป็น
สายหนงั สายตะวนั ออก ในชว่ งปี พ.ศ. 2542 กข็ ยายกจิ การสโู่ รงภาพยนตรใ์ นเขตกรงุ เทพฯ คอื มาบญุ ครอง
และท่ัวประเทศ

       บริษัทถัดมา คือ สหมงคลฟิล์มอินเตอร์เนชั่นแนล บริษัทดังกล่าวเริ่มต้นด้วยการน�ำเข้าและจัด
จำ� หน่ายภาพยนตร์ในนาม มงคลเมเจอร์ ในช่วง พ.ศ. 2513 พฒั นาสูก่ ารเป็นผผู้ ลิตภาพยนตร์ในนามของ
บรษิ ทั มงคลภาพยนตร์ และมบี รษิ ทั ยอ่ ย ไดแ้ ก่ บาแรมยู จนถอื ไดว้ า่ เปน็ บรษิ ทั ผผู้ ลติ ภาพยนตรร์ ายใหญ่
และการเปดิ โรงภาพยนตรใ์ นนามยเู อม็ จี โดยมโี รงภาพยนตรใ์ นเครอื คอื เฮา้ ส์ อารซ์ เี อ (www.wikipedia.
org) ยูเอ็มจี บางพลี

       แมแ้ ตก่ รณโี รงภาพยนตรช์ ้นั สอง จากการศึกษาของทศพร โขมพัตร (2544: 129) พบว่า ในช่วง
ต้นทศวรรษที่ 2540 โรงภาพยนตร์ชั้นสองในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ก็เก่ียวโยงกับธุรกิจสายหนัง
คือ บริษัทนครหลวงโปรโมช่ัน มีโรงภาพยนตร์อยู่ถึง 10 โรงด้วยกัน ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ
ต่างจังหวดั นอกจากนน้ั ยังได้ท�ำธุรกจิ โรงภาพยนตรช์ ัน้ หนง่ึ คือ เอน็ เค (NK) อกี ด้วย

       หากย้อนกลับไปในอดีต โดม สุขวงศ์ (2556: 163) ชี้ว่าในชว่ งปี 2520 ผลพวงจากการที่รฐั บาล
ขน้ึ ก�ำแพงภาษีต่างประเทศทำ� ให้ภาพยนตร์ไทยเตบิ โตมาก และส่งผลให้เกดิ บรษิ ทั ภาพยนตร์ทีค่ รบวงจร
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61