Page 59 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 59
การบริหารงานโรงภาพยนตร์ 11-47
1. การพัฒนาตัวโรงภาพยนตร์
จากการวิจัยทางการตลาดก็ชใ้ี ห้เห็นถึงปัจจยั 4 ตัว ทส่ี ่งผลใหผ้ ชู้ มหนั หน้ากลบั มาชมภาพยนตร์
นน่ั กค็ อื หนงั สถานท่ี ระยะเวลาทฉี่ าย และตวั โรงภาพยนตร์ (Finney, 2010: 86) ทง้ั น้ี ตวั แปรทสี่ ามารถ
ควบคุมได้ก็คือ ตัวโรงภาพยนตร์ ท�ำให้ผู้บริหารโรงภาพยนตร์พัฒนาโรงภาพยนตร์ ทั้งโครงสร้าง
โรงภาพยนตรข์ นาดใหญร่ ะบบมัลติเพลก็ ซ์ การฉายภาพยนตร์ ท่พี ัฒนาจอขนาดใหญ่ การฉายดว้ ยระบบ
ดิจิทัล การพฒั นาระบบสามมติ ิ การพฒั นาระบบเสยี ง
แนวคดิ การพัฒนาตวั โรงภาพยนตร์สอดรับกับงานวิจัยของ ธนภทั ร สุโสภิต (2542) และร่งุ โรจน์
ธรรมตง้ั มนั่ (2543: 73) ซงึ่ ระบวุ า่ โรงภาพยนตรใ์ นอนาคตควรปรบั ใหร้ ะบบโรงภาพยนตรม์ คี วามทนั สมยั
ทง้ั ระบบภาพ เชน่ การฉายทเี่ ปน็ ระบบดจิ ทิ ลั จอภาพยนตรท์ โ่ี คง้ ระบบเสยี งทส่ี มจรงิ การพฒั นาเทคโนโลยี
ตัดเสียงรบกวนจากภายนอก ท�ำให้โรงภาพยนตร์ไร้เสียงสะท้อน อีกท้ังการปรับตัวโรงภาพยนตร์ให้เป็น
โรงแบบสเตเดยี ม (stadium theatre)
ในปี พ.ศ. 2556 “กันตนาซีนเี พล็กซ”์ ยงั ไดเ้ สนอแนวคดิ “โรงหนงั ชุมชน” ซึง่ เป็นการพัฒนา
โรงหนังแนวใหม่ คอื เปน็ โรงหนังขนาดยอ่ ม 50 ทนี่ ั่ง ราคาตั๋วราคาถกู คอื 30 บาท และเปิดให้ผ้เู ข้ารว่ ม
ทุน ต้ังเป้า 1,000 สาขา การฉายหนังก็จะฉายด้วยระบบทันสมัยด้วยการกดปุ่มเดียวและจัดส่งหนังผ่าน
ดาวเทยี ม (กองบรรณาธิการ, 2556c: 19)
แม้แต่กรณีของโรงภาพยนตร์ชั้นสอง ก็มีความพยายามปรับปรุงตัวโรงภาพยนตร์เพื่อความอยู่
รอดด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น การดัดแปลงอาคารจากโรงเดียวเป็นหลายโรง (แต่ก็มีปัญหากับกรมโยธา
ธกิ าร ผคู้ วบคมุ การจดั สรา้ งโรงภาพยนตร)์ การปรบั ระบบเสยี งใหม้ คี วามทนั สมยั เพอ่ื รองรบั กบั ภาพยนตร์
ต่างประเทศ (ทศพร โขมพัตร, 2544: 173-174)
นอกเหนอื จากการปรบั ดา้ นระบบโรงภาพยนตร์แลว้ รุ่งโรจน์ ธรรมตงั้ มน่ั (2543) ยังเสนอให้ยก
ระดับโรงภาพยนตร์ให้มีความหรูหรา มีท่ีน่ังเป็นส่วนตัว การพัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองเล่นส่วนตัว เช่น
อินเทอร์เน็ต เกมส์ ในโรงภาพยนตร์เพ่ือให้ผู้ชมสามารถใช้บริการก่อนระหว่างหลังการชมภาพยนตร์ได้
ด้วย
พนั ธท์ พิ ย์ พงึ่ เสมา (2546: 52-52) พสิ จู นท์ รรศนะดงั กลา่ วดว้ ยการศกึ ษาโรงภาพยนตรใ์ นระดบั
สูงและพบวา่ หากโรงภาพยนตร์มกี ารยกระดับ ทง้ั ตวั โรง การบริการอาหารและเครอ่ื งดม่ื การบริการจอง
จำ� หนา่ ยบตั รทที่ นั สมยั จะสรา้ งความแตกตา่ งใหก้ บั สนิ คา้ และทำ� ใหส้ ามารถปรบั ราคาเพม่ิ ขน้ึ ได้ ทง้ั นี้ เมอื่
ศึกษาผู้ชมก็พบว่า ผู้บริโภคบางรายที่มีรายได้สูงก็มีแนวโน้มตัดสินใจชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์
ดงั กล่าว เหตผุ ลกค็ ือ ความเปน็ ส่วนตวั ความสะดวกสบาย
ทวา่ สวุ ฒั น์ ทองรม่ โพธิ์ บรหิ ารโรงภาพยนตรแ์ หง่ เครอื เอสเอฟ (2555: 31) กลบั มองวา่ การปรบั
โรงภาพยนตรใ์ หย้ กระดบั นน้ั จำ� เปน็ ตอ้ งพจิ ารณาจากทำ� เลหรอื พน้ื ทโ่ี รงภาพยนตร์ เพราะผชู้ มแตล่ ะพนื้ ท่ี
จะมีวถิ ชี วี ติ ทีแ่ ตกตา่ งกัน การจะยกระดับโรงให้กลายเป็นโรงระดบั สงู ในทุกพน้ื ที่ก็อาจไมเ่ หมาะสม
การดำ� เนนิ การกลยทุ ธก์ ารพฒั นาของโรงภาพยนตรก์ ถ็ กู ตงั้ ขอ้ สงั เกต อาทิ การใชเ้ งนิ ลงทนุ จำ� นวน
มากเพื่อพัฒนาระบบ การพ่งึ พงิ ต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศท่ีพฒั นาระบบ อกี ท้ังระบบโรงสมยั ใหม่ยงั
คงไม่นิ่งมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองไม่สิ้นสุดท�ำให้หามาตรฐานกลางได้ยาก และที่ส�ำคัญก็คือ การพัฒนา