Page 61 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 61

การบริหารงานโรงภาพยนตร์ 11-49
ปญั หาทผี่ ่านมา คอื การจะแสดงขอ้ มูลของทน่ี ัง่ ทงั้ หมดว่าว่างผ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ ในลักษณะพร้อมกัน
เปน็ เรอ่ื งยาก ทำ� ใหเ้ วลาสมาชกิ ผจู้ องจองแลว้ ระบบไดเ้ ลอื กทน่ี งั่ ใหแ้ ตผ่ จู้ องกลบั ไมพ่ อใจเพราะไดท้ น่ี ง่ั ทไี่ ม่
ต้องการ

       เหตุน้ีผู้วิจัยจึงมีการพัฒนาระบบการจองแบบใหม่โดยพิจารณาจากข้อมูลของสมาชิกที่จองบ่อย
และเครอื่ งคอมพวิ เตอรก์ จ็ ะเลอื กตำ� แหนง่ ดงั กลา่ วยอ้ นกลบั ไป หากผชู้ มไมพ่ อใจกส็ ามารถเปลยี่ นแปลงได้
หากตกลงซือ้ ระบบก็จะยืนยันใหซ้ อื้ บตั ร และตอ่ จากนั้นระบบก็จะเก็บข้อมลู ดังกล่าวเอาไว้เพอื่ เป็นค่าถว่ ง
นำ้� หนักสำ� หรับการจองในครั้งใหม่ การดำ� เนินการดังกล่าวสรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ผู้ชม

       จะเห็นได้ว่า การพัฒนาการบริการกลายเป็นส่ิงส�ำคัญของการดึงดูดให้ผู้ชมหวนกลับมาชม
ภาพยนตร์ ทง้ั การบริการในระดับบุคคล และการสรา้ งระบบบรกิ ารใหม่ๆ ท้ังศูนยโ์ ทรศัพท์ และระบบจอง
ท่ีน่ังอตั โนมัติ และในอนาคตคาดว่า จะมีการพฒั นาข้ึนไปอีก

3. 	การพัฒนาการสื่อสารการตลาด

       กลยทุ ธด์ า้ นการตลาดเปน็ สิ่งสำ� คญั ท่ชี ว่ ยดงึ ดูดใหผ้ ้ชู มเขา้ มาชมภาพยนตร์มากข้นึ แนวทางการ
ดำ� เนนิ การมไี ดห้ ลากหลายไดท้ ไ่ี ดอ้ ธบิ ายไปบา้ งแลว้ ในตอนที่ 11.2 เรอ่ื งท่ี 11.2.1 เชน่ การลดแลกแจกแถม
สำ� หรบั ในที่น้จี ะนำ� เสนอแนวทางใหม่ๆ ไดแ้ ก่

       แนวทางแรก การสรา้ งพนั ธมติ รทางธรุ กจิ ธนภทั ร สโุ สภติ (2542) และบงกช เบญจาทกิ ลุ (2546:
73) เสนอว่า การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ ได้แก่ การร่วมรายการส่งเสริมการตลาด การแลกเปลี่ยนสื่อ
การร่วมสนบั สนนุ ในโครงการตา่ งๆ ช่วยท�ำใหล้ ดต้นทุนการประชาสมั พนั ธ์โรงภาพยนตรแ์ ลว้ ยังสามารถ
ดึงดดู ผ้ชู มเขา้ ชมภาพยนตร์

       แนวทางทสี่ อง การพัฒนาให้โรงภาพยนตรเ์ ป็นสถานบรกิ ารอน่ื ๆ เพิม่ เตมิ ร่งุ โรจน์ ธรรมตง้ั ม่นั
(2543: 72) ยังเสนอถึงการปรับรูปแบบให้โรงภาพยนตร์ด�ำเนินการนอกจากการฉายภาพยนตร์ แต่เป็น
สถานท่ีบรกิ ารดา้ นตา่ งๆ ได้ เชน่ การจัดประชุม การสัมมนา การประชาสมั พนั ธ์สนิ ค้าตา่ งๆ

       แนวทางทสี่ าม การบอกตอ่ ในกรณขี องโรงภาพยนตรท์ เ่ี นน้ เฉพาะกลมุ่ คอื เฮา้ ส์ อารซ์ เี อ (House
RCA) ซง่ึ จดั ฉายหนงั ศลิ ปะหรอื หนงั ทางเลอื ก พบวา่ กลยทุ ธก์ ารสอ่ื สารทใี่ ชแ้ ละไดผ้ ลมากทสี่ ดุ กค็ อื การ
บอกตอ่ (word of mouth) ผู้ชมรบั รู้ถงึ ร้อยละ 76.5 สว่ นกลยุทธ์อน่ื ๆ ที่โรงด�ำเนินการ ได้แก่ การลง
โปรแกรมและกจิ กรรมในหนงั สือพมิ พ์ไทยรฐั การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ เผยแพร่ผา่ นสอื่ การท�ำแผ่นพบั การ
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ทางส่ือวิทยุ นิตยสารภาพยนตร์ เว็บไซต์ กลยุทธ์ส่วนหลัง แม้จะจ�ำเป็นแต่
เนอื่ งจากมขี อ้ จำ� กดั ดา้ นงบประมาณทำ� ใหย้ งั คงมปี รมิ าณนอ้ ย (พรี ์ สทิ ธกิ ร, 2548: 53-54) จงึ เนน้ กลยทุ ธ์
การบอกต่อมากกว่า

       แนวทางที่ส่ี กลยุทธ์ของโรงหนังชั้นสอง ส�ำหรับกรณีโรงภาพยนตร์ช้ันสอง ถึงแม้ว่า จะต้องลด
การโฆษณาเพ่อื ใหโ้ รงภาพยนตรอ์ ยู่รอด แต่ ทศพร โขมพตั ร (2544: 206-207) ระบุวา่ กม็ ีกลยุทธ์ตา่ งๆ
ท่ีดงึ ดดู ผชู้ มได้ อาทิ การตั้งชอื่ ภาพยนตร์ให้ดึงดดู การใช้จดุ ขายด้วยการฉายดว้ ยโปรเจ็กเตอร์ ซ่งึ ทำ� ให้
ภาพคมชดั การจัดสปั ดาหห์ นังแห่งปี ฉายหนังดงั ควบ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66