Page 62 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 62
11-50 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
4. การพัฒนาโปรแกรมเน้ือหาภาพยนตร์
โปรแกรมเน้ือหาในโรงภาพยนตร์เป็นกลยุทธ์ส�ำคัญที่ท�ำให้ดึงดูดผู้ชมเข้าโรงภาพยนตร์ได้ด้วย
โดยทว่ั ไปโรงภาพยนตรม์ กั จะฉายภาพยนตรท์ ท่ี นั สมยั ทนั กระแส แตแ่ ทนทโี่ รงภาพยนตรจ์ ะฉายภาพยนตร์
ตามกระแสทเ่ี หมอื นๆ กนั ทำ� ใหไ้ มอ่ าจสรา้ งความแตกตา่ ง จงึ ตอ้ งหนั มาสกู่ ารปรบั ปรงุ การเลอื กภาพยนตร์
ที่มาฉายใหม้ คี วามแตกตา่ งจากโรงภาพยนตร์ท่วั ไป
รุ่งโรจน์ ธรรมต้ังม่ัน (2545) เสนอแนวทางการปรบั ปรงุ โปรแกรมเนอื้ หา คอื การปรบั เนือ้ หาให้
ฉายภาพยนตรเ์ ฉพาะแนว ตวั อยา่ งเชน่ การปรบั ตวั ของโรงภาพยนตรเ์ ฮา้ ส์ อารซ์ เี อ (House RCA) และ
ลิโด ได้ปรับตัวจากโรงภาพยนตร์ท่ีฉายภาพยนตร์ท่ัวไปให้ฉายภาพยนตร์ท่ีเน้นภาพยนตร์ศิลปะและ
ภาพยนตรท์ างเลอื ก การปรบั ตวั ของโรงภาพยนตรเ์ มเจอรซ์ นี เี พลก็ ซบ์ างโรงทเี่ นน้ การฉายภาพยนตรอ์ นิ เดยี
และฉายหนงั ในเทศกาลภาพยนตรต์ า่ งประเทศ
สุวฒั น์ ทองรม่ โพธ์ิ (2555: 30) แห่งโรงภาพยนตร์เครอื เอสเอฟ ระบวุ า่ การเสนอหนงั ทางเลือก
น้ันไม่คอ่ ยไดต้ อบโจทย์ด้านรายได้ ทว่า เป็นการสร้างทางเลอื กแกผ่ ชู้ ม อกี ทัง้ การจดั หนงั เทศกาลตา่ งๆ
ก็เช่นกัน และไดจ้ ัดโรงภาพยนตร์บางแหง่ ของเครือไวบ้ รกิ าร
หากดผู วิ เผนิ การปรบั โปรแกรมเนอ้ื หาเพงิ่ จะเรมิ่ เกดิ ขนึ้ แตใ่ นความเปน็ จรงิ นน้ั มมี านานแลว้ โดย
เฉพาะโรงภาพยนตรช์ นั้ สองซงึ่ ตอ้ งปรบั ตวั เพอื่ ความอยรู่ อด หนั มาฉายภาพยนตรท์ อ่ี อกจากโรงภาพยนตร์
ชนั้ หนง่ึ ในลกั ษณะภาพยนตรเ์ รอื่ งควบ การฉายวน ซง่ึ หมายถงึ ฉายวนจากเชา้ ถงึ เยน็ ผชู้ มสามารถซอ้ื บตั ร
ครง้ั เดียวสามารถดูได้ทั้งวัน (อรปวณี ์ วงศ์วชริ า, 2556) ตลอดจนการปรับใหฉ้ ายภาพยนตร์ท่ีเนน้ เนื้อหา
โป๊เปลอื ย หรือภาพยนตร์ทไ่ี มม่ ีลขิ สิทธ์ิแล้ว ซงึ่ มักจะใชแ้ ผน่ ซีดี ดีวีดฉี าย (ทศพร โขมพัตร, 2544: 122,
166)
5. การพัฒนาธุรกิจในลักษณะการขยายกิจการและการข้ามธุรกิจและอื่นๆ
แนวทางการพฒั นาธรุ กจิ ในลกั ษณะการขยายกจิ การและการขา้ มธรุ กจิ นไ้ี ดอ้ ธบิ ายไปแลว้ ในหวั ขอ้
ที่ผา่ นมา เป้าหมายสำ� คัญ ก็คอื การได้ผลก�ำไรและการลดความเส่ยี งในการลงทนุ นอกจากนน้ั แนวทาง
การพัฒนาธุรกิจยังมีแนวทางอ่ืนๆ ด้วย ได้แก่ การควบรวมกิจการกับบริษัทโรงหนังอื่นๆ เช่น บริษัท
เมเจอรซ์ นี เี พลก็ ซร์ วมกบั อจี วี ี การขายกจิ การของเอน็ เค (NK) ใหก้ บั เอสเอฟ (SF) (อรปวณี ์ วงศว์ ชริ า,
2556)
อยา่ งไรกด็ ี สำ� หรบั นกั วชิ าการสายเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื งกลบั มองวา่ การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ในลกั ษณะ
ดงั กลา่ วจะทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาตามมาคอื การกดี กนั บรษิ ทั ขนาดเลก็ ไมส่ ามารถกา้ วเขา้ มาในธรุ กจิ โรงภาพยนตร์
ในช่วงต้นทศวรรษท่ี 2540 พบว่า ธุรกิจโรงภาพยนตร์มีการกระจุกตัวสูงมาก มีบริษัทน้อยรายลงทุน
โรงภาพยนตรเ์ ขา้ ใกลก้ ารผกู ขาด (สทุ ธพิ นั ธ์ รจุ วิ พิ ฒั น,์ 2546: 125, 129) ซงึ่ กไ็ มต่ า่ งจากปจั จบุ นั ทวา่ ใน
ทางกลบั กนั นกั ธรุ กจิ โรงภาพยนตรก์ ลบั มองวา่ การดำ� เนนิ การธรุ กจิ โรงภาพยนตรเ์ ปน็ ธรุ กจิ ทใี่ ชก้ ารลงทนุ
สงู จงึ ย่อมทำ� ให้เกิดการขจัดผลู้ งทนุ ไปในตัวอย่แู ลว้