Page 70 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 70
11-58 การบริหารงานภาพยนตร์
หากละเมดิ การฉายภาพยนตรโ์ ดยไมต่ รงกบั เนอ้ื หาสาระทผี่ า่ นการตรวจพจิ ารณาภาพยนตร์
ดงั ทร่ี ะบใุ นมาตรา 43 รวมถงึ ไมแ่ จง้ ประเภทภาพยนตรท์ น่ี �ำออกฉายดงั ระบใุ นมาตรา 44 กจ็ ะตอ้ งถกู ปรบั
ตงั้ แต่สองหม่นื บาทถึงหนง่ึ แสนบาท ดังมาตรา 80
ส่วนมาตรา 81 ระบุถงึ ผูฝ้ า่ ฝนื มาตรา 46 การต่อใบอนุญาต ระวางโทษปรบั ตง้ั แต่สองหมนื่
บาทถงึ หนงึ่ แสนบาท และมาตรา 82 ชวี้ า่ หากประกอบกจิ การในชว่ งถกู พกั ใชห้ รอื ถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าต
กจ็ ะมรี ะวางโทษตงั้ แต่หนง่ึ แสนบาทถึงหา้ แสนบาท และปรับไม่เกินวันละหนึง่ หม่ืนบาทตลอดระยะเวลาที่
ฝา่ ฝนื นอกจากนน้ั หากผใู้ ดขดั ขวางเจา้ พนกั งานทป่ี ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นมาตรา 61 จะตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ
หกเดอื นหรอื ปรับไมเ่ กินหา้ หมื่นบาทหรอื ท้ังจ�ำและปรับ
2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจเป็นอีกหน่ึงตัวแปรท่ีส่งผลกระทบต่อโรงภาพยนตร์ได้หลากหลายกรณีท้ัง
เศรษฐกจิ มหภาคทต่ี กตำ�่ การแขง่ ขนั กบั กบั ธรุ กจิ โรงภาพยนตรแ์ ละธรุ กจิ สอ่ื อน่ื ๆ และการพฒั นาใหต้ วั โรง
ภาพยนตร์ท�ำธรุ กิจเพม่ิ เติมเพ่ือความอยู่รอด รายละเอียดดังน้ี
1) สภาพเศรษฐกิจที่อยู่ในภาวะตกต�่ำส่งผลต่อการชมภาพยนตร์ เศรษฐกจิ มหภาคมผี ลตอ่ การ
ชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์ ในอดีตท่ีผ่านมาในสังคมตะวันตกพบว่า ยามท่ีเศรษฐกิจตกต่�ำส่งผลให้ผู้
ชมเข้าชมโรงภาพยนตรม์ ากขนึ้ เพราะว่า เมอ่ื สังคมมปี ญั หาผ้คู นก็พยายามแสวงหาความบนั เทิงเริงรมย์
จากภาพยนตรท์ ดแทน ทวา่ ขอ้ คน้ พบดังกล่าวนน้ั เกิดขึ้นในสภาพสงั คมท่ยี ังไม่มสี อ่ื บนั เทิงมากนัก
แต่ในปัจจุบัน เม่ือเศรษฐกิจตกต�่ำกลับพบผลกระทบต่อการชมภาพยนตร์ในชิงผกผันกับในอดีต
คอื ผชู้ มเริ่มลดลง (ธนภัทร สโุ สภิต, 2542: 119) ไมเ่ วน้ แมแ้ ตโ่ รงภาพยนตร์ชั้นสอง จากการศึกษาของ
ทศพร โขมพตั ร (2544: 184) ระบวุ า่ ผลของผลพวงวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ในชว่ งทศวรรษท่ี 2540 สง่ ผลให้ผชู้ ม
ภาพยนตรโ์ รงภาพยนตร์ชั้นสองมีปรมิ าณลดลง เพราะผูช้ มกลุ่มเป้าหมายส่วนหน่งึ ตอ้ งวา่ งงานจากวกิ ฤติ
เศรษฐกิจ ผู้ชมจึงเลือกที่จะบริโภคความบันเทิงจากสื่ออ่ืนๆ มากกว่าการบริโภคภาพยนตร์ท่ีมีราคาแพง
เหตุนี้ ธุรกิจโรงภาพยนตร์ชั้นสองจึงตกต่�ำและต้องปรับการฉายภาพยนตร์เป็นภาพยนตร์ท่ีเน้นภาพโป๊
เปลือย
เม่ือผชู้ มมปี ริมาณลดลงกย็ อ่ มส่งผลต่อการลงทุนดา้ นโรงภาพยนตร์นอ้ ยลง ทง้ั การระงบั การฉาย
ภาพยนตร์ การปรับปรุงตัวโรงและระบบในโรงภาพยนตร์ และแม้แตก่ ารลงทุนสร้างโรงภาพยนตร์
2) การแข่งขันกับคู่แข่ง ในขณะทห่ี วั ขอ้ ทผ่ี า่ นมาจะมงุ่ เนน้ เศรษฐกจิ มหภาค แตห่ วั ขอ้ นจี้ ะมงุ่ เนน้
เศรษฐกจิ ระดบั กลาง คอื การมองการแขง่ ขนั ทง้ั ระหวา่ งโรงภาพยนตรแ์ ละโรงภาพยนตรก์ บั สอื่ บนั เทงิ อน่ื ๆ
กรณแี รก การแข่งขนั ระหว่างโรงภาพยนตร์ โดยสว่ นใหญก่ ารแข่งขนั ในโรงภาพยนตร์ชนั้ หนงึ่ จะ
ไม่มุ่งเน้นกลไกราคาด้านเดียว แต่จะแข่งขันด้วยการพัฒนาพ้ืนท่ีหรือตัวโรงภาพยนตร์ให้มีความแตกต่าง
และโดดเดน่ การสง่ เสรมิ การตลาดใหม้ คี วามหลากหลาย (ธนภทั ร สโุ สภติ , 2542: 118 และบงกช เบญจา-
ทิกลุ , 2546) โรงภาพยนตร์ชั้นหนงึ่ บางโรงกต็ อ้ งปรบั ตัวเพอ่ื มุ่งกลมุ่ ผู้ชมเฉพาะกลมุ่ เช่น โรงภาพยนตร์
เฮ้าส์ อาร์ซีเอ ปรับตัวจากโรงภาพยนตร์ยูเอ็มจี (UMG) เพ่ือตอบกลุ่มผู้ชมท่ีชื่นชอบภาพยนตร์กระแส
ทางเลือก (พรี ์ สทิ ธิกร, 2548: 4)