Page 71 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 71
การบริหารงานโรงภาพยนตร์ 11-59
สว่ นโรงภาพยนตรช์ ้นั สอง ทศพร โขมพตั ร (2544: 185) ก็ต้องปรับตัวเช่นกัน ในด้านหน่ึง แตล่ ะ
โรงก็มีการแข่งขันกันด้วย โดยเฉพาะกรณีโรงภาพยนตร์ช้ันสองที่ต้ังใกล้กัน และบางกรณีโรงภาพยนตร์
ช้ันหน่ึงก็แย่งลูกค้าของโรงภาพยนตร์ชั้นสอง วิธีการแก้ไขก็คือ การจัดโปรแกรมให้ต่างกัน และการใช้
กลยทุ ธ์ราคาเพือ่ ดงึ ดดู ให้คนมาชมภาพยนตร์
กรณีที่สอง การแข่งขันระหว่างโรงภาพยนตร์กับธุรกิจสื่อบันเทิงอื่นๆ ในกรณีนี้พบว่า โรง
ภาพยนตร์จ�ำเป็นต้องแข่งขันกับส่ืออื่นๆ มาโดยตลอด โดยเฉพาะการเติบโตของส่ือโทรทัศน์ เหตุน้ีโรง
ภาพยนตรจ์ ึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาความแตกตา่ งให้เหน็ เด่นชดั ตง้ั แต่เนอ้ื หาของภาพยนตร์ที่เน้นกลุ่มผู้ใหญ่
มากขึ้นกว่าในโทรทัศน์ รวมถึงระบบของโรงภาพยนตร์ ไม่ว่าจะเป็นจอภาพยนตร์ขนาดใหญ่ระบบซีเน
รามา ระบบซเี นมาสโคป เสยี งทคี่ มชดั ภาพสามมติ ิ การพฒั นาโรงแบบไดรฟ-์ อนิ (มนฤดี ธาดาอำ� นวยชยั ,
2540: 4) อยา่ งไรกด็ ี ในปจั จบุ นั การพฒั นาของสอ่ื โทรทศั นย์ คุ ใหมท่ เี่ นน้ ระบบดจิ ทิ ลั การพฒั นาเทคโนโลยี
Home entertainment ก็เริ่มดึงผู้คนกลับไปชมโทรทัศน์ ส่งผลให้โรงภาพยนตร์ต้องปรับตัวเพื่อความ
อยู่รอดอกี ครง้ั
3) การท�ำธุรกิจของตัวโรงภาพยนตร์ ดังท่ีกล่าวไปแล้วข้างต้นว่า นอกจากโรงภาพยนตร์จะมี
รายได้จากราคาตั๋วเข้าชมภาพยนตรแ์ ล้ว ตวั โรงภาพยนตรย์ ังสามารถท�ำธรุ กจิ เพ่มิ เตมิ เพอื่ ทำ� ให้เกิดกำ� ไร
มากกวา่ ราคาตว๋ั นบั ตงั้ แต่ ธรุ กิจอาหาร เครอื่ งดื่มหนา้ โรงภาพยนตร์ ธรุ กิจความบันเทงิ อื่นๆ ระหว่างรอ
ชมภาพยนตร์ ไดแ้ ก่ โบวลง่ิ คาราโอเกะ ฟติ เนส
พนื้ ทใ่ี นโรงภาพยนตร์ ยงั เปน็ พนื้ ทท่ี ส่ี ามารถขายโฆษณา ทง้ั โฆษณาผา่ นจอหนงั โฆษณาในพนื้ ที่
อาคาร ภายนอกอาคาร อีกทั้ง ยังสามารถให้เช่าพื้นที่โรงภาพยนตร์ท�ำกิจกรรมต่างๆ ทั้งการสัมมนา
การประชมุ การถา่ ยทอดสด ฯลฯ
3. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
ในอดีตปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมจะมุ่งพิจารณาตัวแปรด้านความแตกต่างของบุคคล เช่น
เพศ วยั อาชพี ท่อี ย่อู าศยั รายได้ รวมถึงช่วงเวลาในการฉายภาพยนตร์ เชน่ ชว่ งเทศกาล วันหยุด จะ
สง่ ผลตอ่ การเขา้ ชมภาพยนตร์ ณ โรงภาพยนตร์ ทวา่ ในปจั จบุ นั ตวั แปรสำ� คญั อกี ตวั แปรหนงึ่ กค็ อื ตวั แปร
ด้านความแตกต่างของลักษณะวถิ ีชีวติ (life style) ของผู้คนยคุ ใหม่ ซ่ึงจะสง่ ผลต่อการชมภาพยนตร์ท่ี
โรงภาพยนตร์
การศกึ ษาในปจั จบุ นั ตอกยำ้� ทศั นะเรอื่ งวถิ ชี วี ติ ของผชู้ มทเ่ี ปลย่ี นไป จำ� แนกไดเ้ ปน็ การศกึ ษาผชู้ ม
ทช่ี มโรงภาพยนตรม์ ัลตเิ พลก็ ซ์ และโรงภาพยนตรช์ ัน้ สอง
งานกลุม่ แรก การศึกษาผชู้ มท่ีเข้าชมในโรงภาพยนตรร์ ะบบมัลติเพล็กซ์ งานวิจัยต่างๆ ยนื ยันให้
เหน็ ในทำ� นองเดยี วกนั วา่ วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปทำ� ใหโ้ รงภาพยนตรต์ อ้ งปรบั ตวั ในลกั ษณะการ
ตอบสนองความบันเทิงภายในพ้ืนท่ีเดียว เช่น งานวิจัยของมนฤดี ธาดาอ�ำนวยชัย (2539: 132) และ
พรรณรวี วรรณรัตน์ (2551: 147) ช้ีว่า โรงภาพยนตร์ในปัจจุบันเป็นส่วนหน่ึงของแนวคิด one stop
shopping (หรอื การบรโิ ภคภายในพน้ื ทเ่ี ดยี ว) โรงภาพยนตรจ์ งึ ยา้ ยไปสศู่ นู ยก์ ารคา้ ทม่ี แี หลง่ ความบนั เทงิ
ครบครนั บงกช เบญจาทกิ ลุ (2546: 63) เสรมิ วา่ สภาพสงั คมในยคุ ปจั จบุ นั ผคู้ นเปลย่ี นแปลงไปเนน้ ความ