Page 33 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 33

จริยธรรมในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ 3-23

       ผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการควรศึกษาและปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในกฎหมายเพ่ือมิให้
เกิดการกระท�ำฝ่าฝืนจนเข้าข่ายถูกพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต

       3.8		หมวด 8 บทก�ำหนดโทษ
            1)		ความผิดและบทก�ำหนดโทษตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เป็นความผิดและ

โทษอาญา
            2)	 	บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวให้เลขาธิการคณะกรรมการ

อาหารและยา หรือผู้ซ่ึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมายมีอ�ำนาจเปรียบเทียบปรับได้ เว้นแต่
ผู้กระท�ำความผิดไม่ยินยอมช�ำระค่าปรับก็จะต้องส่งเร่ืองฟ้องร้องต่อศาลเช่นเดียวกับกรณีความผิดในข้อหา
ที่มีโทษจ�ำคุกรวมอยู่ด้วย

            3)		ความผดิ ทม่ี โี ทษปรบั สถานเดยี ว เชน่ สขุ ลกั ษณะสถานทผ่ี ลติ ไมผ่ า่ นเกณฑต์ ามทก่ี ฎหมาย
ก�ำหนด แสดงฉลากไม่ถูกต้อง อาหารผิดมาตรฐาน และการใช้วัตถุเจือปนอาหารไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่
กฎหมายก�ำหนด เป็นต้น

            4)		ความผิดที่มีโทษปรับ และโทษจ�ำคุกสูงสุด ในข้อหาผลิต หรือน�ำเข้าเพื่อจ�ำหน่าย
อาหาร หรือจ�ำหน่ายอาหารปลอม ต้องระวางโทษจ�ำคุกต้ังแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าพันบาท
ถึงหนึ่งแสนบาท

       เม่ือผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามข้อกฎหมายต้องได้รับโทษ อย่างหนึ่งอย่างใด

4.	หลกั การควบคมุ กำ� กบั ดแู ลคณุ ภาพและความปลอดภยั ภายใตบ้ ทบญั ญตั ติ ามพระราชบญั ญตั ิ
  อาหาร พ.ศ. 2522

       ได้แบ่งการด�ำเนินงานออกได้เป็น 3 ส่วนท่ีส�ำคัญ ได้แก่ การก�ำหนดมาตรฐานอาหารและ
องคป์ ระกอบอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อาหาร การกำ� กบั ดแู ลผลติ ภณั ฑก์ อ่ นออกตลาด (Pre-marketing Control)
และการก�ำกับดูแลผลิตภัณฑ์หลังออกตลาด (Post-marketing Control) ดังน้ีตามภาพท่ี 3.2
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38