Page 37 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 37

จริยธรรมในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ 3-27

เรอื่ งท่ี 3.2.2	 กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งในหว่ งโซอ่ าหาร

       ผู้ประกอบธุรกิจด้านอาหารและโภชนาการมีความจ�ำเป็นที่ต้องทราบกฎหมายที่ควบคุมก�ำกับ
ดูแลความปลอดภัยของอาหารท่ีเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อาหาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม
เกย่ี วกบั จรยิ ธรรมดา้ นกฎหมายส�ำหรบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ดา้ นอาหารและโภชนาการ ซง่ึ มหี ลายกฎหมายทส่ี �ำคญั
และส�ำหรับหน่วยงานของรัฐท่ีก�ำกับดูแลธุรกิจบริการในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและโภชนาการ
อีกหลายองค์กร

       การก�ำกับดูแลปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในห่วงโซ่อาหาร ท้ังต้นน้�ำ กลางน้�ำ และปลายน�้ำ ต้นน้�ำหรือ
แหล่งที่มาของวัตถุดิบอาหารที่อยู่ในแหล่งเพาะปลูก ฟาร์ม แหล่งเพาะเล้ียงน้ัน โดยกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เช่น พระราชบัญญัติการประมง พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พระราชบัญญัติปุ๋ย พระราชบัญญัติ
โรคระบาดสัตว์ พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์และจ�ำหน่ายเน้ือสัตว์ พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพ
อาหารสตั วแ์ ละพระราชบญั ญตั มิ าตรฐานสนิ คา้ เกษตร เปน็ ตน้ เมอ่ื นำ� วตั ถดุ บิ อาหาร มาแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑ์
อาหารนั้นคือกลางน�้ำ  จะมีกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่เก่ียวข้องก�ำกับดูแลเรื่อง สถานท่ีผลิต
น�ำเขา้ อาหารเพ่ือจ�ำหนา่ ย หรือสถานทจ่ี ำ� หนา่ ยอาหาร คุณภาพ มาตรฐาน ผลติ ภัณฑอ์ าหาร ฉลาก และภาชนะ
บรรจุอาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร ซึ่งเป็นกฎหมายท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น นอกจากน้ียังมีกฎหมาย
อื่นเกี่ยวข้องคุ้มครองด้านสุขลักษณะและการอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น พระราชบัญญัติการสาธารณสุข ดูแล
สุขลักษณะหาบเร่ แผงลอย สถานที่จ�ำหน่าย ตลาด เป็นต้น และพระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่ง
ชาติ ก�ำกับดูแลโดยส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และส�ำนักงานมาตรฐาน
สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ ที่เก่ียว
กับอาหารให้ครอบคลมุ ท้ังหว่ งโซ่ นอกจากนี้กระทรวงอตุ สาหกรรม กำ� หนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม
ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

       ปลายนำ�้  หากผบู้ รโิ ภคไดบ้ รโิ ภคอาหารทไี่ มป่ ลอดภยั จากผปู้ ระกอบธรุ กจิ ดา้ นอาหารและโภชนาการ
จะไดร้ ับการคมุ้ ครองตามพระราชบญั ญัติอาหาร ท่กี ำ� กบั ดแู ลตามทกี่ ลา่ วขา้ งต้น นอกจากน้ีผ้บู ริโภค ยังได้รับ
การคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
และพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ตอ่ ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จากสนิ คา้ ทไี่ มป่ ลอดภยั ซงึ่ กำ� กบั ดแู ลโดยสำ� นกั งาน
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

       บทบาทของภาครัฐของแต่ละหน่วยงานย่อมมีบทบาทที่แตกต่างกัน กฎหมายท่ีส�ำคัญและบทบาท
ของภาครัฐท่ีเก่ียวข้องกับการควบคุมก�ำกับดูแลอาหารตามห่วงโซ่การผลิตอาหาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคและบทบาทของภาครัฐท่ีเก่ียวข้องมีตัวอย่างที่ส�ำคัญดังนี้
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42