Page 35 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 35
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา 1-25
ตวั อยา่ งการวจิ ยั และพฒั นา เชน่ การสรา้ งชดุ การสอน นกั วจิ ยั ตอ้ งเรมิ่ จากการวเิ คราะหส์ ภาพ
ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั การเรยี นของผเู้ รยี น (R1) จากนน้ั พฒั นาชดุ การสอนเพอื่ แกไ้ ขปญั หานน้ั แลว้ ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญ
ประเมินคุณภาพ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ (D1) น�ำชุดการสอนท่ีพัฒนาขึ้นไปใช้กับนักเรียนกลุ่มเล็ก (3 คน
ที่มีระดับการเรียน เก่ง กลาง และอ่อน) ค�ำนวณประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ทางการศึกษา ซ่ึงนิยมใช้ค่า
E1/E2 (R2) น�ำผลการทดลองมาปรับปรุงชุดการสอนให้มีคุณภาพมากขึ้น (D2) น�ำชุดการสอนที่พัฒนาขึ้น
ไปใช้กับนักเรียนกลุ่มขนาดกลาง (9 คน คือ นักเรียนที่มีระดับการเรียน เก่ง กลาง และอ่อน อย่างละ 3 คน)
ค�ำนวณค่า E1/E2 (R3) น�ำผลการทดลองมาปรับปรุงชุดการสอนให้มีคุณภาพมากข้ึน (D3) น�ำชุดการสอน
ท่ีพัฒนาข้ึนไปใช้กับนักเรียน 1 ห้อง (30 คน ประกอบด้วยนักเรียนท่ีมีระดับการเรียนคละกัน) (R4) น�ำผล
การทดลองมาปรับปรุงชุดการสอนให้มีคุณภาพมากข้ึน (D4) เมื่อได้ชุดการสอนท่ีมีคุณภาพดีแล้ว จึงน�ำไป
ใช้กับนักเรียนท่ัวไป
1.7 การวิจยั เชิงพฒั นาการ เป็นการวิจัยที่มุ่งบรรยายถึงความสัมพันธ์ในปัจจุบันของตัวแปร
ต่าง ๆ เมื่อพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในความสัมพันธ์นั้น ๆ การวิจัยเชิงพัฒนาการแบ่งออก
เป็น 3 ประเภท คือ การศึกษาระยะยาว การศึกษาภาคตัดขวาง และการศึกษาแนวโน้ม หรือการศึกษา
เชิงท�ำนาย
2. การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยท่ีศึกษาปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมตามความ
เป็นจริงในทุกมิติ เพ่ือพิจารณาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์กับสภาพแวดล้อมนั้น การวิจัยชนิดนี้เป็น
การแสวงหาความรู้โดยเน้นความส�ำคัญของข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด การให้ความหมายหรือคุณค่าแก่
ส่ิงต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยมและอุดมการณ์ของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์น้ัน ๆ การวิจัยเชิงคุณภาพ
มกั เป็นการศกึ ษาตดิ ตามระยะยาว และใช้วธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมูลแบบตีความสรา้ งขอ้ สรุปแบบอปุ นัยเป็นหลกั
(สุภางค์ จันทวานิช, 2544, น. 169)
ลักษณะเด่นที่เป็นจุดเน้นของการวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงผู้วิจัยจะต้องระมัดระวัง คือการเน้นความเป็น
มนษุ ยข์ องผวู้ จิ ยั และผถู้ กู วจิ ยั การเนน้ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ระบบความหมายและการรบั รปู้ รากฏการณ์ การเนน้ จดุ ยนื
แบบคนในในการรับรู้ปรากฏการณ์ และการเน้นบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของปรากฏการณ์ (สุภางค์
จันทวานิช, 2544, น. 172)
วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพมีหลายวิธี ในการวิจัยที่เน้นภาคสนามนักวิจัยจะใช้วิธีการสังเกต และจด
บันทึกกับวิธีการสัมภาษณ์เป็นวิธีเก็บข้อมูลท่ีส�ำคัญ ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพจะ
มีวิธีการท่ีแตกต่างไปจากการวิจัยแบบอื่น โดยเฉพาะการวิเคราะห์ข้อมูลคู่ขนานไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
และการวิเคราะห์โดยการสรุปข้อมูลช่ัวคราว และการท�ำบทสรุปแบบอุปนัย (สุภางค์ จันทวานิช, 2544,
น. 175) การวิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษาท่ีพบมาก ได้แก่
2.1 การวจิ ยั เชงิ ประวตั ศิ าสตร์ (historical research) เป็นการวิจัยเพ่ือต้องการทราบความเป็น
มาของเร่ืองราวต่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมาหรือพัฒนาการทางการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือหาข้อสรุป
และท�ำความเขา้ ใจปรากฏการณใ์ นอดตี ตง้ั แตส่ มยั เรมิ่ ตน้ มาจนถงึ สมยั กอ่ นปจั จบุ นั อนั จะน�ำไปสกู่ ารก�ำหนด
ขอบเขตท่ีจะท�ำนายหรือคาดการณ์ในอนาคต เช่น หลักสูตร ส่ือการสอน วิธีสอน วิธีวัดผล อิทธิพลของ