Page 39 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 39

แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา 1-29

ผลงานวิจัย งานวิจัยในอดีตยังไม่ตอบปัญหาน้ัน และเป็นปัญหาอุปสรรคที่ควรแก้ไข การก�ำหนดปัญหาวิจัย
ทชี่ ดั เจนจะเปน็ กรอบในการกำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ การศกึ ษาคน้ ควา้ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ในอดตี กำ� หนดตวั แปร
และสมมติฐาน รวมถึงก�ำหนดรูปแบบและวิธีด�ำเนินการวิจัยแหล่งที่มาของปัญหาวิจัยมาจากหลายแหล่ง
ดังตัวอย่างต่อไปนี้

            1.1	 จากประสบการณ์ของผู้วิจัยท่ีเกิดจากการสังเกตสภาพการท�ำงาน เช่น ความพึงพอใจ
ความไม่พอใจในผลผลิตทางการศึกษา หรือการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเรา
ท่ีท�ำให้เกิดการขัดแย้งหรือข้อสงสัย ก็สามารถน�ำมาสร้างปัญหาการวิจัยได้

            1.2 	จากทฤษฎีหรือแนวคิดท่ีสนใจ ทฤษฎีหรือแนวคิดจะช่วยให้รู้ว่าจะต้องท�ำอะไรเพิ่ม หรือ
เม่ือผู้วิจัยมีข้อสงสัยในทฤษฎีนั้นก็จะท�ำให้เกิดปัญหาวิจัยใหม่ ๆ ข้ึนมาได้

            1.3	 จากการอ่านหนังสือ วารสารที่เก่ียวข้องกับการวิจัย บทคัดย่องานวิจัย ท�ำให้ทราบ
ข้อค้นพบของงานวิจัยและข้อเสนอแนะที่ผู้วิจัยได้เสนอไว้ โดยการน�ำความคิดเห็นข้อเสนอแนะน้ันมาเป็น
ปัญหาวิจัยได้

            1.4	 จากการสอบถามจากผู้รู้ ผู้เช่ียวชาญที่คลุกคลีกับงานวิจัยในสาขาน้ัน ๆ ท�ำให้ทราบ
รายละเอียด จุดอ่อน ข้อบกพร่องในศาสตร์ของตน แล้วน�ำความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของท่านเหล่าน้ัน
มาเป็นแนวทางในการตั้งปัญหาการวิจัย

            1.5	 จากความต้องการขององค์กร แหล่งทุน หรือหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีการวางกรอบของงาน
วิจัยไว้ว่าต้องการศึกษาอะไร ต้องการแก้ปัญหาหรือต้องการหาค�ำตอบ ซ่ึงอาจจะท�ำให้ได้ทุนวิจัยด้วย

            1.6	 จากการเข้าร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการท่ีองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ จัดขึ้นเพราะ
ในการประชุมทางวิชาการซึ่งอาจมีการเสนอทฤษฎีหรือองค์ความรู้ใหม่ ๆ ท่ีน่าสนใจและน�ำมาสู่ปัญหา
การวิจัยได้

            1.7	 จากนโยบายและทศิ ทางการทำ� วจิ ยั แหง่ ชาติ ซงึ่ มคี วามเชอ่ื มโยงสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์
การพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล แผนน�ำทางวิจัยแห่งชาติ
ตลอดจนปัญหาในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศ

       ในการเลือกปัญหาในการวิจัยต้องพิจารณาจากความรู้ ทัศนคติ ความสามารถของผู้วิจัย แหล่ง
ความรู้ท่ีจะเป็นส่วนเสริมให้งานวิจัยส�ำเร็จ ประชากรและวิธีการสุ่มตัวอย่างการรวบรวมข้อมูล รวมท้ัง
เงินทุน เวลาท่ีจะท�ำให้งานวิจัยส�ำเร็จ ลักษณะของปัญหาวิจัยที่ดี มีคุณค่าแก่การวิจัย จะช่วยเสริมให้งานวิจัย
มีคุณค่ามากย่ิงขึ้นซึ่งมีเกณฑ์การเลือกปัญหาวิจัย ดังนี้ (อวยพร เรืองตระกูล, 2553, น. 2-31-2-32)

            1) 	มีความชัดเจน แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร หรือเก่ียวข้องกับประเด็นท่ีศึกษา
อย่างน้อย 2 ประเด็น

            2) 	มีความส�ำคัญ โดยพิจารณาจากผลการวิจัยท่ีได้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ส่วนรวม ท้ังทางปฏิบัติและทางวิชาการ ผลการวิจัยสร้างเสริมองค์ความรู้ใหม่ และความเข้มแข็งให้กับ
วงวิชาการ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44