Page 60 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 60
13-50 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
4.10 ตัวอย่างการนำ�เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบ
แ มนว ิท นีย์ในตัวอย่างที่ 13.6 นำ�เสนอผ ลก ารว ิเคราะห์ข ้อมูลได้ด ังต ารางที่ 13.9
ตารางท ี่ 13.9 การเปรียบเทยี บเวลาท ใี่ ชใ้ นก ารแ ก้ปัญหาข องผ เู้ขา้ อบรม
กลุ่มท ่ี จ�ำนวน คา่ เฉล่ียข องอ ันดบั U p
1 9 9.89 44 .935
2 10 10.10
จากต ารางท ี่ 13.9 พบว่าเวลาท ี่ใช้ในก ารแ ก้ป ัญหาข องผ ู้เข้าอ บรม 2 กลุ่ม คิดเป็นอ ันดับได้ค่าอ ันดับ
รวมเท่ากับ 44 มากกว่าค่าวิกฤต ดังนั้น จึงยอมรับ H0 กล่าวคือ ผู้เข้าอบรมทั้งสองกลุ่มมีความสามารถ
ในก ารแก้ป ัญหาไม่แ ตกต่างกัน
หลังจากศ ึกษาเนือ้ หาส าระเร่ืองท่ี 13.2.2 แลว้ โปรดป ฏบิ ัติกิจกรรม 13.2.2
ในแนวการศกึ ษาห นว่ ยท ี่ 13 ตอนที่ 13.2 เร่อื งท ี่ 13.2.2
เร่ืองที่ 13.2.3 การวเิ คราะห์ความแ ตกต ่างของข ้อมลู
ในกรณีก ล่มุ ต วั อย่างมากกว่าสองก ลุ่ม
สถติ นิ นั พ าราเมตรกิ ท ใี่ ชท้ ดสอบค วามแ ตกต า่ งข องข อ้ มลู ในก รณกี ลุม่ ต วั อยา่ งม ากกวา่ ส องก ลุม่ และ
ข้อมูลวัดในระดับนามบัญญัติสามารถใช้การทดส อบไคส แควร ์เพื่อทดสอบว่าความถี่ระหว่างกลุ่มของข ้อมูล
นั้นแ ตกต ่างกันหรือไม่ การท ดสอบดำ�เนินการเช่นเดียวกับการท ดส อบไคสแ ควร์ กรณีข้อมูลอิสระสองกลุ่ม
ซึ่งจ ะไม่ก ล่าวซํ้า สำ�หรับก รณีท ี่ข ้อมูลว ัดในร ะดับจ ัดอ ันดับ การท ดสอบค วามแตกต ่างข องค ่าก ลางข องข ้อมูล
มากกว่าส องก ลุ่ม ใช้ก ารท ดสอบค รัสคัล-วอล ล ิส (Kruskal-Wallis test)
1. ลักษณะข องการทดส อบค ร สั ค ัล-วอลล ิส
ในก รณกี ลมุ่ ต วั อยา่ งม ากกวา่ ส องก ลมุ่ ข น้ึ ไปและข อ้ มลู ว ดั ในร ะดบั จ ดั อ นั ดบั การท ดส อบค ร สั ค ลั -วอล ล สิ
ใช้เพื่อท ดสอบว่าก ลุ่มตัวอย่าง k กลุ่ม ที่ได้จากป ระชากร k กลุ่ม มีการแจกแจงเหมือนกันห รือไม่ หรือกลุ่ม
อิสระ k กลุ่ม ถูกสุ่มมาจ ากประชากรท ี่มีค ่ากลางเท่าก ันห รือไม่