Page 69 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 69

สถิตนิ ันพาราเมตริก 13-59

เรือ่ ง​ที่ 13.3.1 การ​วเิ คราะห์​ความส​ ัมพันธ​์ของข​ อ้ มลู ส​ องก​ ลมุ่
	 ​ที่​วดั ​ใน​ระดับน​ ามบ​ ัญญัติ

       การ​วัด​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ข้อมูลสองกลุ่ม หรือ​ตัวแปรสองตัว​โดยที่​ตัวแปร​แต่ละ​ตัว​วัด​ใน​ระดับ​
นาม​บัญญัติ​นั้น​นิยม​ใช้​สัมประสิทธิ์ก​ ารจ​ รณ์ (Contingency coefficient: C)

1. 	ลักษณะข​ องก​ าร​วิเคราะห์​ความ​สมั พันธ์

       สัมประสิทธิ์​การ​จรณ์ เป็น​ขนาด​ความ​สัมพันธ์​ของ​ข้อมูล​ที่​วัด​ใน​ระดับ​นาม​บัญญัติสองกลุ่ม หรือ
สองตัวแปร​โดย​ตัวแปร​แต่ละ​ตัว​แบ่ง​ออก​ได้​เป็น​หลาย​ประเภท ข้อมูล​ที่​ใช้​สามารถ​จัด​อยู่​ใน​ตาราง​การ​จรณ์
r × c (r แถว และ c สดมภ์) ตาม​ประเภท​ของต​ ัวแปร ดังนี้

	           ตัวแปร​สดมภ์ (c สดมภ์)

               1 2 ... c

ตวั แปรแถว  1
 (r แถว)
            2

            …
            r

2. 	ขอ้ ต​ กลงเ​บอ้ื ง​ตน้

       ข้อมูลว​ ัดใ​น​ระดับน​ าม​บัญญัติ และ​สามารถ​จัดอ​ ยู่​ใน​ตาราง​การ​จรณ์ไ​ด้

3. 	การต​ ้ัง​สมมติฐาน

       สมมติฐานเ​ป็น​สมมติฐานเ​พื่อ​ทดสอบ​ค่า​ไคสแควร์ สมมติฐานตั้งแ​ บบ​สองทาง​ ดังนี้
            H0: ตัวแปร​ทั้งส​ อง​ไม่มี​ความส​ ัมพันธ์ก​ ัน
            H1: ตัวแปร​ทั้งส​ อง​มี​ความ​สัมพันธ์ก​ ัน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74