Page 75 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 75
สถิตนิ ันพาราเมตริก 13-65
จากตารางที่ 13.11 พบว่าเพศและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กัน สรุปได้ว่า
ปฏิเสธ H0 ดังน ั้น เพศและความพ ึงพอใจข องน ักบ ริหารม ีความสัมพันธ์กันอ ย่างม ีน ัยสำ�คัญท ี่ร ะดับ .05
หลังจ ากศ กึ ษาเนือ้ หาส าระเรอื่ งที่ 13.3.1 แล้ว โปรดป ฏบิ ตั ิก ิจกรรม 13.3.1
ในแนวก ารศ กึ ษาหนว่ ยท ี่ 13 ตอนที่ 13.3 เร่ืองท ี่ 13.3.1
เรอ่ื งที่ 13.3.2 การว ิเคราะหค์ วามสมั พนั ธข์ องข อ้ มูลส องกลมุ่
ทวี่ ัดในร ะดบั จ ดั อันดบั
การวัดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสองกลุ่ม และข้อมูลวัดในระดับจัดอันดับ เช่น การจัดอันดับ
โครงการที่ประสบความสำ�เร็จของกรรมการ 2 คน หรือจัดอันดับผลงานของนักเรียนโดยครู 2 คน การ
วิเคราะหค์ วามส มั พนั ธข์ องข อ้ มลู ด งั ก ลา่ วใชก้ ารว เิ คราะหส์ มั ประสทิ ธส์ิ หส มั พนั ธแ์ บบจ ดั อ นั ด บั ข องส เปยี ร แ์ มน
(Spearman Rank Correlation Coefficient: rs) หรือบ างครงั้ เรียกว า่ สเปยี รแ์ มน โร (Spearman’s Rho: ρ)
1. ลกั ษณะข องการว เิ คราะหค์ วามสมั พันธ์
วิธกี ารว ิเคราะหส์ ัมประสิทธิส์ หส ัมพันธแ์ บบจ ัดอ ันด ับข องส เปียร แ์ มน ใชว้ ิเคราะหค์ วามส ัมพันธข์ อง
ข้อมูลสองกลุ่มท ี่จัดอยู่ในลักษณะลำ�ดับที่ เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูลสองกลุ่ม และใช้ในกรณีข้อมูลมี
ขนาดเล็ก (น้อยกว่า 30)
2. การต ง้ั สมมติฐาน
สมมติฐานอ าจตั้งแบบท างเดียวห รือส องท างก็ได้
2.1 สมมตฐิ านแบบสองทาง ใช้ในก รณีไม่แ น่ใจว่าความสัมพันธ์ของต ัวแปร 2 ตัวจ ะมีทิศทางใด
2.2 สHHมม01::ตρρฐิ า≠=นแ00บ((บขข้อท้อมามงูลูลเด22ยี วกกลลุ่มุ่มไสมัม่สพัมันพธัน์กธัน์ก)ัน)
2.2.1 ถ้าคาดว่าความสัมพันธ์ข องต ัวแปร 2 ตัว เป็นไปได้ในท างเดียวกัน
H0: ρ = 0, H1: ρ > 0
2.2.2 ถ้าค าดว ่าความส ัมพันธ์ของต ัวแปร 2 ตัว เป็นไปในทิศทางต รงก ันข้าม
H0: ρ = 0, H1: ρ < 0