Page 50 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 50
5-40
ข้อดี ขอ้ จำ�กดั
1. สามารถวดั ผลการเรยี นรไู้ ดท้ กุ เนอ้ื หาและพฤตกิ รรม 1. การสร้างข้อสอบที่ดีต้องใช้เวลาในการสร้างมาก
ตั้งแต่ระดับที่ง่ายจนถึงระดับที่ซับซ้อน 2. ส ร้างยากกว่าข้อสอบแบบอื่น ๆ เพราะต้องมี
2. สามารถสุ่มเนื้อหามาใช้ในการวัดได้มากกว่า คุณภาพดีทั้งตัวคำ�ถามและตัวเลือก
ข้อสอบแบบอื่น 3. เป็นข้อสอบที่ไม่สามารถวัดความสามารถในการ
3. ส ามารถนำ�คำ�ตอบที่ไม่ถูกไปใช้เป็นข้อมูลในการ แก้ปัญหา หรือวัดความสามารถในการเรียบเรียง
วินิจฉัยทางการเรียนได้ หรือแสดงแนวคิดได้
4. ส ามารถนำ�ผลการวิเคราะห์ข้อสอบมาปรับปรุง
คุณภาพข้อสอบได้
5. ก ารตรวจให้คะแนนทำ�ได้ง่าย มีความเป็นปรนัย
และมีความเที่ยงสูง
แนวตอบกิจกรรม 5.2.2
ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต้องมีการจัดท�ำตารางวิเคราะห์วัตถุประสงค์
เชิงพฤตกิ รรมและแผนผงั การออกข้อสอบ เพอื่ ใหจ้ ดุ มงุ่ หมายของการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน และ
การสร้างแบบทดสอบมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกัน นอกจากน้ันแผนผังการทดสอบช่วยให้มองเห็น
จุดมุ่งหมายที่ต้องการวัดผล การให้นํ้าหนักความส�ำคัญของแต่ละเนื้อหา ซึ่งท�ำให้ผู้สร้างข้อสอบรู้ว่าในแต่ละ
เน้ือหาจะต้องสร้างข้อสอบในพฤติกรรมใดบ้าง พฤติกรรมละกี่ข้อ
การสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทกุ ครงั้ จงึ ควรตอ้ งจดั ทำ� ตารางวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์
เชิงพฤติกรรมและแผนผังการออกข้อสอบ และเมื่อผู้ออกข้อสอบจัดทำ� ต้ังแต่การออกข้อสอบครั้งแรก เมื่อ
ต้องการวัดผลในชุดวิชานี้ในคร้ังต่อไป ผู้ออกข้อสอบสามารถท่ีจะออกข้อสอบตามตารางวิเคราะห์
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและแผนผังการออกข้อสอบที่เคยก�ำหนดไว้ได้เลย โดยไม่จ�ำเป็นต้องมีการปรับ
เปล่ียนทุกคร้ังท่ีมีการออกข้อสอบ แต่อาจจะน�ำมาปรับปรุงได้โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ข้อสอบที่เคย
ออกมาก่อนว่าสามารถวัดผลได้ตามความสามารถท่ีแท้จริงของผู้สอบหรือไม่ ถ้ามีสิ่งใดท่ีควรปรับปรุงผู้ออก
ขอ้ สอบกอ็ าจจะนำ� มาปรบั ในสว่ นของตารางวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมและแผนผงั การออกขอ้ สอบได้
แนวตอบกจิ กรรม 5.2.3
ก่อนที่จะสร้างแบบทดสอบวินิจฉัย ผู้สร้างข้อสอบต้องสร้างแบบทดสอบเพื่อส�ำรวจข้อบกพร่องของ
ผู้เรียนแต่ละคน เพื่อจะได้น�ำข้อบกพร่องไปปรับปรุงให้ดีขึ้น ทั้งน้ี ในการสร้างแบบทดสอบเพื่อส�ำรวจต้องมี
การก�ำหนดตัวบ่งชี้ในแต่ละทักษะความสามารถท่ีต้องการว่าประกอบด้วยตัวบ่งชี้อะไรบ้าง จากนั้นสร้าง
ข้อค�ำถามให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ในแต่ละทักษะความสามารถและครอบคลุมจุดประสงค์และเนื้อหา โดยมี
จ�ำนวนข้อค�ำถามเพียงพอที่จะอธิบายถึงความบกพร่องหรือจุดด้อยของผู้เรียนได้