Page 37 - การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 37

ปัญหาการวิจัยและการเขียนโครงการวิจัยเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา 9-27

            2)	 การสุ่มตัวอย่างท่ีให้โอกาสเท่ากัน (Probability Sampling) ใช้หลักของความน่าจะเป็น
ในการสุ่ม คือ ให้แต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่างได้เท่าเทียมกัน แยกเป็น
วิธีย่อย ๆ ดังนี้

                (1)	การสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยทุก ๆ หน่วยในประชากรจะมี
โอกาสถกู เลอื กเท่ากนั การสมุ่ แบบนจ้ี ะใชว้ ิธจี ับฉลาก (Lottery Method) หรอื โดยวิธที ่ีเรียกว่าสุ่มตามตาราง

                (2)	การสุ่มเป็นระบบ (Systematic Sampling) เป็นการสุ่มอย่างมีระบบ เช่น เลือกคน
เว้นคน หรือเอา 1 หน่วย เว้น 2 หน่วย โดยท�ำบัญชีของประชากร และใส่หมายเลขไว้ก่อน

                (3)	การสุ่มเป็นช้ัน (Stratified Random Sampling) เป็นการสุ่มโดยแบ่งเป็นช้ัน หรือ
เปน็ กลมุ่ เชน่ เดยี วกบั การสมุ่ แบบโควตา้ เชน่ แบง่ ตามเพศ อาชพี อายุ รายได้ ศาสนา แลว้ ทำ� การสมุ่ แบบงา่ ย
(Simple Random) จากแต่ละช้ันและกลุ่ม แล้วรวมแต่ละกลุ่มตัวอย่างเข้าด้วยกัน เป็นกลุ่มตัวอย่าง
ท้ังหมดท่ีต้องการ การสุ่มวิธีนี้ หากเลือกมาเป็นสัดส่วน (Proportion) ตามจ�ำนวนของกลุ่ม เราเรียกว่า
Proportional Stratified ถ้าไม่เป็นตามสัดส่วนเรียกว่า Unproportional Stratified

                (4)	การสุ่มเป็นเขตพ้ืนท่ี (Cluster Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งประชากร
ออกตามพนื้ ที่ (Area Sampling) จดุ มงุ่ หมายการสมุ่ แบบนเ้ี พอ่ื ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการสมุ่ สมาชกิ แตล่ ะหนว่ ยลง
และพยายามจะลดความแตกต่างระหว่างกลุ่มให้มาก เม่ือเปรียบเทียบกับความแตกต่างภายในกลุ่ม การสุ่ม
แบบนี้มักใช้กับประชากรที่อยู่กระจัดกระจายตามพื้นท่ีต่าง ๆ โดยแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่ม ๆ เมื่อ
แบ่งเป็นกลุ่มได้แล้ว จึงใช้การสุ่มอาจใช้การสุ่มแบบง่าย หรือการสุ่มเป็นชั้นก็ได้

       นอกจากวธิ ดี งั กลา่ ว บางครง้ั นกั วจิ ยั ยงั นยิ มเอาวธิ ตี า่ ง ๆ มาผสมกนั ในการเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง วธิ นี ี้
เรียกว่า การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi Stage Random) เช่น ขั้นแรกแบ่งกลุ่มหรือแบ่งพื้นที่
ก่อน แล้วท�ำการแบ่งแบบชั้น และในแต่ละช้ันก็ท�ำการสุ่มตัวอย่างไป เมื่อได้ครบแล้วก็น�ำมารวมเป็นกลุ่ม
ตัวอย่างแต่ละกลุ่ม และน�ำแต่ละกลุ่มรวมกัน ก็เป็นกลุ่มตัวอย่างของประชากรทั้งหมด

       4.	 ก�ำหนดขอบข่ายเนื้อหาสาระของเร่ืองที่จะท�ำการวิจัย เป็นการก�ำหนดสาระของเร่ืองท่ีจะน�ำมา
ท�ำวิจัย โดยระบุขอบเขตของเน้ือหาว่ามีข้อจ�ำกัดแค่ไหน เช่น เน้ือหาของชุดการสอนหรือชุดการฝึกอบรม
จะท�ำในเร่ืองใด กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรใด เวลาก่ีช่ัวโมง ส�ำหรับชั้นอะไร หรือจะพัฒนาระบบ
การสอนหรือการฝึกอบรม หรือแบบจ�ำลอง หรือโครงการ ส�ำหรับสาระใด เป็นต้น

       5.	 ก�ำหนดประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยอาจมีหลายประเภท
สามารถจ�ำแนกเป็น 5 ประเภท คือ

            1)	 เครอ่ื งมอื ทเ่ี ปน็ ตน้ แบบชนิ้ งาน (Prototype) เป็นเครอื่ งมอื ทส่ี รา้ งชนิ้ งานต้นแบบขน้ึ มาใหม่
หรือพัฒนาจากของเดิม เช่น ชุดการสอน ระบบการสอน โครงการ หรือแบบจ�ำลอง เป็นต้น

            2)	 เคร่ืองมือจ�ำแนกลักษณะกลุ่มตัวอย่าง (Attribution) เป็นเคร่ืองมือส�ำหรับจ�ำแนกกลุ่ม
ตัวอย่างให้ได้ลักษณะตามที่ผู้วิจัยต้องการ เช่น เครื่องมือวัดสติปัญญา เคร่ืองมือวัดความถนัด เคร่ืองมือ
วัดน้ําหนักและส่วนสูง เป็นต้น
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42