Page 13 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 13
10-3
หนว่ ยท ่ี 10
สถิติพ รรณนา
เค้าโครงเน้ือหา
ตอนท ี่ 10.1 ความรู้เกี่ยวก ับสถิติแ ละสถิติพ รรณนา
10.1.1 ความหมายและประเภทของส ถิติ และสถิติพรรณนา
10.1.2 การว ิเคราะห์ข ้อมูลด ้วยก ารใช้ส ถิติพ รรณนา
10.1.3 การนำ�เสนอข้อมูล
ตอนท ี่ 10.2 การวัดแนวโน้มเข้าส ู่ส ่วนก ลางแ ละก ารวัดการกร ะจาย
10.2.1 การว ัดแ นวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
10.2.2 การว ัดก ารกระจาย
แนวคิด 1. สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงปริมาณสิ่งของ หรือข้อความที่แสดงลักษณะของ
พฤติกรรม หรือหมายถ ึง ศาสตร์ท ี่ว ่าด ้วยร ะเบียบวิธีก ารทางสถิติ ประกอบด้วย การเก็บ
รวบรวมข้อมูล การว ิเคราะห์ข ้อมูล และก ารนำ�เสนอข้อมูล สถิติแ บ่งเป็น 2 ประเภท คือ
สถิตพิ รรณนา และส ถิตอิ ้างอิง โดยส ถิติพรรณนา เป็นส ถิตใิชบ้ รรยายล ักษณะข ้อมูลด ้วย
จ�ำ นวน คา่ ก ลาง คา่ ก ารกร ะจ าย รปู ท รง และต �ำ แหนง่ ท เี่ ปน็ ข องก ลุม่ ต วั อยา่ งห รอื ป ระชากร
แตไ่มอ่ ้างอิงไปกลุ่มใด ส่วนส ถิตอิ ้างอิง เป็นการห าค ่าส ถิตจิ ากก ลุ่มต ัวอย่างแ ล้วอ ้างอิงไป
ยังป ระชากร
2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่ากลางของข้อมูลที่ใช้แทนค่าของข้อมูลนั้นๆ
สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต เหมาะกับข้อมูลที่มีมาตรวัดแบบอันตรภาค
ชั้นและอัตราส่วน สำ�หรับมัธยฐาน เหมาะกับข้อมูลที่มีมาตรวัดแบบเรียงลำ�ดับ และค่า
ฐานนิยม เหมาะกับข้อมูลที่มีมาตรวัดแบบนามบัญญัติและเรียงล ำ�ดับ
3. การว ดั ก ารกร ะจ าย เปน็ การห าค ่าส ถติ ทิ บี่ อกร ะยะห ่างข องข ้อมลู ก บั ค ่าก ลาง หรือร ะยะห า่ ง
ระหว่างข้อมูลด้วยกัน สถิติท ึ่ใช้ว ัดการกระจ าย คือ พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง
เบนม าตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนคว อไทล์ และรูปร ่างของก ารกระจ ายอธิบายได้โดยโค้งปกติ
ความโด่ง ความเบ้ โดยค ำ�นวณจากค ่าต ำ�แหน่ง คว อไทล์และเปอร์เซนไทล์ได้