Page 45 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 45
9-35
ตอนท ี่ 9.2 สารละลาย
แนวต อบก ิจกรรม 9.2.1 เท่ากับ 63 g/mol
วิธีท ำ� นํ้าห นักโมเลกุลข อง HNO3 70 g หรือ 63 g/mol
สารละลายนี้ 100 g มี HNO3 อยู่ 70 g = 1.1 mol
100 g
สารละลาย 100 g มีป ริมาตร 1.42 g/cm3 = 70.4 cm3
(1.1 m7o0l).(41200c0mc3m3/L)
ดังนั้น ความเข้มข ้นของส ารละลาย 1 ลิตร ค ือ
= 15.6 mol/L หรือ 15.6 M
แนวต อบกจิ กรรม 9.2.2
กฎของเฮนรี (Henry’s law) กล่าวว่า สภาพการละลายของแก๊สในของเหลวแปรผันโดยตรงกับ
ความดันย ่อย (partial pressure) ของแก๊สนั้นเหนือส ารละลายที่อุณหภูมิเดียวกัน
ถ้าให้ c เป็นค วามเข้มข ้นของแ ก๊สท ี่ละลายได้ ความเข้มข้นเป็นโมล าร์ (mol/l)
P เป็นค ่าความด ันข องแ ก๊สเหนือสารละลาย ในหน่วย atm
k เป็นค่าคงที่ซึ่งแปรตามชนิดของแก๊สและชนิดของตัวทำ�ล ะลาย รวมทั้งมีค่าขึ้นอยู่กับ
อุณหภูมิมีห น่วยเป็น mol/l . atm
กฎของเฮนรีก ็ค ือ c ∝ P
c = kP
แนวต อบก ิจกรรม 9.2.3
ไอโอดีนเป็นโมเลกุลไม่มีข ั้ว จึงค วรล ะลายเบนซ ีนซ ึ่งไม่มีข ั้วเหมือนก ันได้ด ีก ว่าในน ํ้าซ ึ่งเป็นโมเลกุล
ที่ม ีขั้ว แรงร ะหว่างโมเลกุลข องไอโอดีนก ับเบนซ ีนค ือ แรงแ ผ่กระจาย
แนวตอบกิจกรรม 9.2.4
ก. CaCO3 ไม่ล ะลายในนํ้า เพราะส ารประกอบค าร์บอเนต (CO32-) ฟอสเฟต (PO43-) และซ ัลไฟด์
(S2-) ทั้งหมดไม่ละลาย ยกเว้นส ารประกอบของโลหะอ ัลค าไลและแอมโมเนียมไอออน
ข. KCl ละลายในน ํา้ ไดด้ ี เพราะส ารประกอบส ว่ นใหญท่ ีม่ คี ลอไรด์ (Cl-) โบรไมด์ (Br-) หรอื ไอโอไดด์
(I-) ไอออน ละลายได้ ยกเว้นส ารประกอบของ Ag+, Hg2+ และ Pb2+