Page 35 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 35
กรณีตัวอย่างโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์เช่ารถยนต์ 15-25
ตารางท่ี 15.7 ข้อพิจารณาส�ำคัญของการเสรมิ ประสทิ ธิภาพฐานข้อมูล
ขอบเขต ประเด็น แนวทางการเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ
รีเลช่ันทั่วไป การจัดการข้อมูลตามปกติ (ก�ำหนดคีย์และ
นอร์มัลไลเซช่ัน) - วิเคราะห์แถวที่สามารถแบ่งจ�ำแนกข้อมูล
รีเลชั่นท่ัวไป ด้วยคีย์หลักได้
TBL_Car การเรียงและการจัดกลุ่มข้อมูล - สร้างอินเด็กซ์ส�ำหรับคีย์หลัก
TBL_Rental - สร้างอินเด็กซ์ส�ำหรับคีย์รอง
รีเลชั่นท่ัวไป การเพ่ิมประสิทธิภาพการค้นหาข้อมูล
- สร้างอินเด็กซ์ส�ำหรับคอลัมน์ที่ถูกใช้หรือ
การเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้เช่า กรุ๊ปบ่อย ๆ
พยายาม Denormalize คอลัมน์ที่อาจมีการ - สร้างอินเด็กซ์ให้กับคอลัมน์ท่ีจ�ำเป็นต้องมี
เปล่ียนแปลงน้อยมาก ๆ การค้นหาบ่อย ๆ เช่น Type และ Brand
- สร้างอินเด็กซ์ให้กับคอลัมน์ท่ีเกี่ยวข้องกับ
ผู้เช่า เช่น ClientID เป็นต้น
- ตรวจสอบรีเลชั่นท่ีมีความสัมพันธ์แบบ 1:1
- ตรวจสอบรีเลชั่นที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:M
จากตารางโครงสรา้ งขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการออกแบบฐานขอ้ มลู และแนวทางการเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพฐานขอ้ มลู
สามารถแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย ER diagram ได้ดังภาพที่ 15.10 จะเห็นว่า
มีการก�ำหนดชนิดของข้อมูล คีย์ต่าง ๆ ตลอดจนรายละเอียดอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น การก�ำหนดอินเด็กซ์ให้กับ
แอตทริบิวต์ Name, Lastname และ CellPhone ของ TBL_Client เพื่อท�ำให้การสืบค้นมีความรวดเร็วสูงข้ึน
นักพัฒนาระบบจะใช้ผลการออกแบบน้ีในการสร้างฐานข้อมูลบนระบบจัดการฐานข้อมูล (DMBS) ต่อไป
ภาพท่ี 15.10 แบบจำ� ลองแสดงความสัมพนั ธ์ของขอ้ มูล