Page 24 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 24
8-14 การผลติ รายการวิทยกุ ระจายเสยี งขัน้ สูง
เร่ืองท่ี 8.1.3
โครงสร้างรายการนิตยสารทางอากาศและรายการปกิณกะ
รายการนิตยสารทางอากาศและรายการปกิณกะ มีโครงสร้างรายการคล้ายคลึงกัน แตกต่างกัน
ตรงบทเชื่อมโยง และการน�ำเข้าสู่รายการโดยรายการนิตยสารทางอากาศจะแจ้งว่าเรื่องราวที่น่าสนใจใน
รายการมีเรื่องอะไรบ้าง แต่รายการปกิณกะจะพูดน�ำเข้าสู่เร่ืองราวเลยไม่มีการแจ้งเร่ืองเด่นในรายการแต่
อยา่ งใด
1. โครงสร้างรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนติ ยสารทางอากาศมโี ครงสรา้ งรายการทง้ั มติ ขิ องเนอ้ื หา และมติ ขิ องเสยี งในสว่ นของมติ ิ
เนื้อหานัน้ เนอ้ื หารายการจะมวี ตั ถปุ ระสงคข์ องรายการ ไดแ้ ก่ ให้ข่าว ข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง ซ่ึง
วัตถุประสงค์นี้จะต้องสอดคล้องกับประเภทของรายการนิตยสาร ดังตัวอย่างโครงสร้างรายการนิตยสาร
ประเภทหลากหลาย
ตัวอย่างโครงสร้างรายการนิตยสารทางอากาศ
ล�ำดับที่ รูปแบบรายการ เน้ือหา ความยาว/นาที
1 สนทนา เปดิ รายการ 2
2 บทความ ตน้ แก้ว 2.5
3 เพลง ดอกแก้ว 3
4 สนทนา โรคเอดสใ์ นเด็ก 3.5
5 บรรยาย อารมณด์ จี ะมีอายยุ ืน 7
6 ตอบปัญหา การเลือกซอื้ อาหารกระป๋อง 2
7 สนทนา ประชาสัมพนั ธ์-ปดิ รายการ 2.5
8 ดนตรี ดนตรคี ัน่ รายการ 1
9 บรรยาย บทเชอื่ มโยง 1.5
ในสว่ นโครงสรา้ งรายการทางมติ ขิ องเสยี งนนั้ เนอ่ื งจากรายการนติ ยสารทางอากาศเปน็ เทคนคิ การ
ผลติ รายการแบบซบั ซอ้ นนน่ั คือ รายการจะมเี สยี งท้ัง 3 ประเภท ครบถ้วน ไดแ้ ก่ เสียงพดู เสยี งดนตรี/
เพลง และเสยี งประกอบ
1.1 เสียงพูด ได้แก่ ส่วนท่ีเป็นการด�ำเนินรายการและส่วนที่เป็นเนื้อหาในรายการนิตยสารทาง
อากาศจึงเป็นรายการสาระ + บันเทิง เสียงพูดจึงมีความส�ำคัญ เน่ืองจากต้องส่ือสารกับผู้ฟังในเรื่องราว
ต่างๆ ซึ่งเสียงพูดในรายการประกอบด้วย เสียงของผู้ด�ำเนินรายการในรายการท่ีมีความยาวรายการ