Page 36 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 36

8-26 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสยี งขนั้ สูง
       4.	 สภาพแวดล้อมของสถานี การผลิตรายการนิตยสารทางอากาศและรายการปกิณกะ ผู้ผลิต

รายการตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สถานทต่ี งั้ ของสถานดี ว้ ยวา่ เปน็ จงั หวดั ในภาคเหนอื อยา่ งเชยี งใหม่ หรอื จงั หวดั สงขลา
จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดภูเก็ต แต่ละจังหวัดท่ียกตัวอย่างมาน้ี จะก่อให้เกิดความแตกต่างด้านการ
น�ำเสนอเน้ือหา แหล่งข้อมูล เรื่องราวต่างๆ ที่น�ำเสนอย่อมต้องสอดคล้องกับถ่ินที่อยู่ของผู้ฟัง ตัวอย่าง
ถ้าต้องผลิตรายการในเขตเมืองพัทยา ที่มีชาวต่างชาติอาศัยอยู่มากๆ ภาษาท่ีใช้เนื้อหาท่ีน�ำเสนอคงต้อง
เปน็ ภาษาสากล อาทิ ภาษาองั กฤษ และสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของผฟู้ งั เพลงในรายการสามารถเสนอเพลง
สากลได้ ลลี าของรายการยอ่ มมกี ล่นิ อายของตะวันตกเขา้ มาในรายการอย่างหลีกเลยี่ งมิได้ ผู้ผลติ รายการ
จึงจำ� เปน็ ต้องคำ� นงึ ถึงสภาพแวดลอ้ มของสถานี

       5.	 บคุ ลากรของสถานี การผลติ รายการรปู แบบซบั ซอ้ นตอ้ งการทมี งานจำ� นวนมากและวสั ดอุ ปุ กรณ์
ที่สมบรู ณ์ เพอ่ื ทจ่ี ะได้รายการทมี่ คี ณุ ภาพ ซง่ึ ทมี งานขนาดใหญม่ กั จะอยใู่ นสงั คมสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี ง
ขนาดใหญ่ เชน่ สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย สถานวี ทิ ยุ บมจ. อสมท. เปน็ ตน้ หากเปน็ สถานี
วิทยุกระจายเสียงขนาดเลก็ มที มี งานเพยี ง 2-3 คน ทีป่ ฏบิ ตั งิ านตามปกติ ยากทจี่ ะผลิตรายการนติ ยสาร
ทางอากาศและรายการปกิณกะ เพราะเป็นรายการที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ
เวลาในการผลติ รายการมากกวา่ รายการรปู แบบไมซ่ บั ซอ้ น เชน่ รายการขา่ ว พดู คยุ สนทนา ฯลฯ รายการ
เหล่าน้ีใช้เวลาในการเตรียมการน้อย ไม่ต้องใช้ศิลปะในการผลิตรายการมากนัก ดังนั้นการผลิตรายการ
นิตยสารทางอากาศหรือรายการปกิณกะจำ� เป็นตอ้ งดคู วามพร้อมบุคลากรของสถานดี ้วย

       6.	 งบประมาณ เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับทุกสถานี และผูกพันกับคุณภาพรายการ บุคลากร วัสดุ
อปุ กรณ์ หากงบประมาณตาํ่ สถานไี ม่สามารถผลิตรายการรูปแบบซบั ซ้อนได้ เพราะรายการเหลา่ นต้ี ้องมี
แหลง่ ขอ้ มลู มกี ารเดนิ ทางไปเกบ็ ขอ้ มลู มกี ารใชเ้ ทคนคิ การผลติ รายการทตี่ อ้ งการคณุ ภาพของวสั ดอุ ปุ กรณ์
สูง และต้องการบคุ ลากรท่มี คี วามรู้ ความสามารถเชย่ี วชาญชำ� นาญงานมาเป็นทีมผผู้ ลติ หากหน่วยงาน
มงี บประมาณไมม่ ากนกั ยอ่ มไมส่ ามารถทจ่ี ะสรา้ งสรรคร์ ายการรปู แบบซบั ซอ้ นทม่ี คี ณุ ภาพไดอ้ ยา่ งแนน่ อน
ซ่งึ สง่ ผลต่อความนิยมรายการ

       7.	 สถานีคู่แข่งขัน เทคโนโลยดี า้ นการกระจายเสยี งสามารถซอ้ื หาไดใ้ นราคาถกู อกี ทงั้ กฎหมาย
เปดิ โอกาสให้มีการจัดตง้ั สถานีวทิ ยไุ ด้มากมาย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงวิทยชุ ุมชน ซึง่ มีบทบาทส�ำคัญและตัง้
อยใู่ กลช้ ดิ กบั คนในชมุ ชน นอกจากสถานจี ะตอ้ งผลติ รายการทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐานแลว้ สถานยี งั ตอ้ งครองใจ
กลุ่มผู้ฟังเป้าหมายให้ได้ซึ่งผู้ผลิตรายการต้องรู้จักสถานีวิทยุที่เป็นคู่แข่งขันของตนเพื่อน�ำจุดอ่อนของเรา
มาพฒั นา เนื้อหา เทคนิคการผลติ รายการให้เป็นทนี่ ่าสนใจ ผ้ฟู งั จะไดภ้ กั ดตี อ่ รายการและสถานีของเรา

       8.	 การมีส่วนร่วมของผู้ฟัง เป็นสิ่งส�ำคัญของรายการในปัจจุบัน เพราะจะท�ำให้ผู้ฟังรู้สึกเป็น
ส่วนหน่ึงของรายการท�ำให้รายการมีกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายของตนเอง การผลิตรายการนิตยสารทางอากาศ
และปกิณกะอาจสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้ฟังได้หลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการถาม-ตอบค�ำถามทาง
จดหมาย ทางโทรศัพท์ หรือกระดานสนทนา หรือการสัมภาษณ์สดทางโทรศัพท์ การให้รางวัลผู้ฟังหาก
ผูฟ้ งั ตอบค�ำถามถกู ต้อง เทคนิคการสรา้ งมีสว่ นรว่ มจะทำ� ให้ รายการมเี สน่ห์ ดงึ ดูดใจผ้ฟู งั รายการ ผ้ผู ลติ
รายการจ�ำเป็นต้องสร้างสรรค์รายการให้ผฟู้ ังไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นร่วมในรายการ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41