Page 43 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 43

หลักและเทคนิคการผลติ รายการนิตยสารทางอากาศและรายการปกณิ กะ 8-33

2. 	การวางแผนการเขียนบท

       การผลติ รายการนติ ยสารทางอากาศประเภทใดกต็ ามเปน็ การทำ� งานเปน็ ทมี จงึ ตอ้ งมบี ท เพอื่ เปน็
แผนท่ีในการเดินทางสู่จุดหมายปลายทางเดียวกัน บทของรายการนิตยสารทางอากาศจะเป็นบทแบบกึ่ง
สมบรู ณ์ สมุ น อยสู่ นิ (2547) ไดอ้ ธบิ ายเกยี่ วกบั การวางแผนการเขยี นบทรายการนติ ยสารทางอากาศ ดงั นี้

       ข้ันตอนการวางแผนการเขยี นบทรายการนิตยสารทางอากาศ ไดแ้ ก่
       2.1 	การศึกษาปจั จัยทเี่ กี่ยวข้องกบั การเขยี นบท
       2.2 	การก�ำหนดแนวคดิ ในการเขียนบท
       2.3 	การตั้งชื่อรายการ
       2.4 	การเขยี นโครงร่างบท
       2.1 	การศึกษาปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการเขียนบท ได้แก่ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของรายการ
ซง่ึ จะนำ� ไปสกู่ ารตงั้ ชอื่ รายการ การกำ� หนดโครงสรา้ งรายการ ประเดน็ เนอ้ื หาในรายการและวธิ กี ารนำ� เสนอ
รายการ
       ศึกษาความต้องการของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย ซึ่งจะท�ำให้การเขียนบทง่ายขึ้น ท�ำให้ทราบว่าต้อง
เลือกเรือ่ งอะไรทีอ่ ยูใ่ นความสนใจของกลมุ่ ผ้ฟู งั จะใช้ลีลาสำ� นวนภาษาใดจึงจะเหมาะสม
       ศกึ ษารายการของสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งอน่ื วา่ ใครคอื ผผู้ ลติ รายการ ผดู้ ำ� เนนิ รายการ มลี ลี าการ
เสนอรายการอย่างไร มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร ใครคือกลุ่มเป้าหมาย อัตราความนิยมรายการ (rating)
เป็นอย่างไร แล้วน�ำมาพิจารณาว่า จะหาจุดอ่อนจุดแข็ง หรือหาช่องว่างแทรกเข้าไปเพื่อดึงดูดกลุ่มผู้ฟัง
เป้าหมายหรือหาส่วนแบ่งการตลาดอย่างไร รวมทั้งควรศึกษาเน้ือหาจากส่ือมวลชนอ่ืน เช่น โทรทัศน์
หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร เพือ่ อาจนำ� แนวคดิ บางอยา่ งมาใช้ในรายการได้ดว้ ย
       ศึกษาปจั จยั ภายในของสถานี ไดแ้ ก่ เวลาออกอากาศ บคุ ลากร วัสดอุ ปุ กรณ์ งบประมาณ ว่าเอือ้
ต่อการเขยี นบทและผลิตรายการหรือไม่
       ศึกษาปัจจัยภายนอก ได้แก่ กระแสความนิยมของสังคม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ภาษา
วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละสภาพแวดลอ้ มของสงั คมเพอ่ื ใหก้ ารเขยี นบทมคี วามถกู ตอ้ งทง้ั เรอื่ ง
การกำ� หนดแนวคิด การใชภ้ าษาในการสอ่ื ความหมายโดยไมข่ ัดแยง้ กับความรู้สึกของคนในสงั คม
       2.2	 การก�ำหนดแนวคิด หลงั จากศกึ ษาปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งแลว้ ผเู้ ขยี นบทตอ้ งหาแนวคดิ ของรายการ
(concept) ซึ่งจะเป็นกรอบหรือภาพรวมของรายการ แนวคิดที่ดีควรมีเอกลักษณ์ มีการศึกษากล่ันกรอง
มาแลว้ แนวคดิ เปรยี บเสมอื นแกน่ ของรายการ ทบ่ี อกใหผ้ เู้ ขยี นบททราบวา่ รายการควรมขี อบเขตแคไ่ หน
เน้ือหารายการควรเป็นอย่างไร แนวคิดมักก�ำหนดเป็นข้อความสั้นๆ เป็นข้อสรุปรวบยอดของรายการ
การกำ� หนดแนวคดิ ทำ� ใหผ้ ูเ้ ขียนบทไม่หลงทาง สามารถวางแผนการเขยี นบทใหอ้ ยใู่ นกรอบที่ก�ำหนดไว้
       นภาภรณ์ อัจฉริยะกลุ อธิบายว่าการเขยี นบทจะแบง่ เปน็ 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ 1) การเร่ิมแนวคิด
ของรายการ 2) การคน้ ควา้ และรวบรวมขอ้ มลู 3) การวางโครงรา่ งและก�ำหนดล�ำดบั ขัน้ ตอนของรายการ
4) เรยี บเรียงและเขยี นร่างแรก 5) ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงร่างทีส่ องใหเ้ ป็นบทสมบูรณ์
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48