Page 50 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 50
12-38 การบริหารงานภาพยนตร์
โพรเจ็กต์สรา้ งภาพยนตร์เรอื่ ง Vanishing Point เร่มิ ตน้ ขึน้ ต้ังแต่ปี 2551 ซ่ึงจักรวาลได้มโี อกาส
เข้าร่วมการเวิร์กชอป (workshop) บทภาพยนตร์ในโพรเจ็กต์ Berlinale Talent Campus’s Script
Station (เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน ซึ่งเป็นโพรเจก็ ตท์ ี่ช่วยพัฒนาศักยภาพ
ในการเขยี นบทภาพยนตร)์ ซ่ึงในขณะน้นั จกั รวาลมีเพยี งไอเดียและคอนเซปกว้างๆ ของภาพยนตร์เพียง
เทา่ นน้ั หลงั จากสน้ิ สดุ การเวริ ก์ ชอปจกั รวาลกไ็ ดพ้ ฒั นาบทภาพยนตรต์ อ่ จนกระทง่ั ไดเ้ ปน็ เคา้ โครงรา่ งของ
บทที่เป็นรูปเปน็ รา่ งมากขน้ึ พรอ้ มๆ กบั จัดการทำ� key visual และถา่ ยทำ� pilot* เพ่ือถา่ ยทอด mood
& tone ของภาพยนตร์ให้ออกมาเป็นภาพ (visual) ซงึ่ จกั รวาลกลา่ วว่าภาพยนตรเ์ รอ่ื งนีเ้ ป็นภาพยนตร์
แนวทดลองทีเ่ น้นไปทก่ี ารสร้างสรรค์ภาพมากกวา่ การสร้างพล็อตเรือ่ ง การน�ำเสนอโพรเจก็ ต์จงึ เปน็ ไปได้
ยากมากทจี่ ะทำ� ใหผ้ อู้ า่ นแพก็ เกจเขา้ ในใจในเนอื้ เรอ่ื ง ซงึ่ ตรงนเ้ี จา้ ตวั กลา่ ววา่ “หนงั ของผมดไู มร่ เู้ รอ่ื งหรอก”
ดังนั้นการทำ� แพก็ เกจทปี่ ระกอบด้วย “ภาพ” เช่น key visual และ pilot จึงเป็นเรอื่ งทีจ่ ำ� เป็นมากๆ ใน
การเปน็ ตวั เสรมิ สำ� คญั ใหแ้ กก่ ารเลา่ เรอื่ งผา่ นตวั หนงั สอื เพยี งอยา่ งเดยี ว อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยใหผ้ พู้ จิ ารณาทนุ จดจ�ำ
ภาพยนตร์ผ่านภาพได้อีกดว้ ย
จากน้ันจักรวาลจึงตัดสินใจน�ำแพ็กเกจเรื่อง Vanishing Point ย่ืนขอทุนพัฒนาบทภาพยนตร์
(Script And Project Development Fund) จากกองทุน Hubert Bals ในปี 2552 และได้รับเงิน
สนับสนุนมาทง้ั สิ้นประมาณ 10,000 ยโู ร การขอทนุ จาก HBF น้ี จกั รวาลลงมอื ทำ� ด้วยตนเอง โดยควบ
ต�ำแหนง่ ทัง้ โปรดิวเซอร์และผู้ก�ำกับ ไม่นานหลังจากท่ีได้รับทนุ ในส่วนแรกมาจกั รวาลก็ตัดสินวา่ จะตอ้ งหา
โปรดิวเซอร์ท่ีมีประสบการณ์เข้ามาเป็นผู้บริหารโพรเจ็กต์ต่อไป โดยเขาให้เหตุผลว่าในการท�ำโพรเจ็กต์
ระยะยาวและการขอทนุ จากแหลง่ อน่ื ๆ ตอ่ ไปนนั้ ตอ้ งอาศยั ประสบการณจ์ ากโปรดวิ เซอรท์ เี่ กง่ แมว้ า่ จกั รวาล
จะมีโปรไฟล์ที่ดีในการทำ� งานในฐานะผกู้ �ำกบั ภาพยนตร์ แต่ในฐานะโปรดิวเซอรข์ องภาพยนตรข์ นาดยาว
แลว้ จกั รวาลอาจจะยังมีโปรไฟลท์ ไี่ มแ่ ขง็ แรงพอ
ในระหว่างปี 2552-2556 โพรเจก็ ต์ Vanishing Point ไดร้ ับทนุ สนบั สนนุ ประเภทการท�ำวิจัย
เชงิ สรา้ งสรรค์ จากมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรเ์ พยี งแหลง่ เดยี ว ซง่ึ จกั รวาลเปน็ ผสู้ มคั รขอทนุ ดว้ ยตนเอง ใน
ขณะท่ีทุนจากแหล่งอนื่ ๆ ทจ่ี กั รวาล (Co-producer) และโปรดิวเซอรไ์ ดส้ มัครในชว่ งระยะเวลากว่า 4 ปี
นั้น ไม่ได้รับการตอบรบั ทนุ แหลง่ ใดๆ ความคืบหน้าของโพรเจ็กตก์ ็เรมิ่ ต้นขนึ้ อีกครั้งในชว่ งปี 2556 เมื่อ
โพรเจก็ ต ์ Vanishing Point ไดช้ าตชิ าย ไชยยนต์ เขา้ มาท�ำหนา้ ทีเ่ ป็นโปรดวิ เซอร์ รว่ มกับพทุ ธิพงษ์
อรุณเพ็ง และจักรวาล (Co-producers) พร้อมๆ กับได้ใช้ทุนส่วนตัวท่ีมาจากบริษัทสร้างภาพยนตร์
(production house) Mit Out Sounds Films ซ่งึ เป็นบริษัททท่ี ้งั 3 คนกอ่ ตง้ั ขน้ึ มาเพ่มิ เติม จนท�ำให้
ในปลายปีเดียวกันน้ี โพรเจ็กต์ Vanishing Point ก็สามารถเข้าสู่ช่วงของการถ่ายท�ำภาพยนตร์ซ่ึงกิน
ระยะเวลากวา่ 1 ปี และสามารถถ่ายท�ำจนเสร็จส้ินในท่สี ดุ
* ตัวอยา่ งภาพเคลอื่ นไหวจากภาพยนตร์ มีจดุ ประสงคใ์ นการนำ�เสนอตวั อยา่ งผลงานเพือ่ ขอทนุ จากแหลง่ ต่างๆ