Page 51 - การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 51
การออกแบบขวด 11-41
3.2 สีท่ีเกิดจากฉลากบรรจุภัณฑ์และฝาปิดที่น�ำมาปิดบนขวด พบว่ามีความเป็นไปได้ในการ
ออกแบบสีได้อย่างหลากหลายไร้ขีดจ�ำกัด เน่ืองจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีกระบวนการพิมพ์ ซึ่ง
ปจั จบุ นั สามารถพมิ พข์ อ้ มลู ลงบนฉลากและฝาปดิ ไดท้ กุ ชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ กระดาษ ฟอยลอ์ ะลมู เิ นยี ม ฟลิ ม์
พลาสตกิ ตลอดจนการพมิ พล์ งบนตวั ขวดโดยตรง ซงึ่ ผอู้ อกแบบสามารถใชส้ สี นั เปน็ สอ่ื ถงึ ตวั ผลติ ภณั ฑใ์ ห้
ลูกค้าทราบได้ เช่น การใช้สีฟ้าและสีเขียวอมเหลืองซึ่งเป็นตัวอย่างการใช้สีโทนเย็น เพื่อส่ือถึงความ
เยอื กเย็น สดชน่ื ในขวดบรรจโุ ลชัน่ เชด็ ผิวหนา้ สสี ้ม สีนํา้ เงิน ซง่ึ เปน็ ตวั อย่างการใชส้ โี ทนรอ้ น แสดงถงึ
พละก�ำลงั และการควบคุม ในขวดน้าํ ยาขดั หอ้ งน้าํ สีทอง สเี งนิ และสีด�ำซ่งึ เปน็ ตัวอย่างการใช้สีคลาสสกิ
แสดงถงึ ความเกา่ แก่ เครง่ ขรึม มีอ�ำนาจ มคี ณุ ค่า ในขวดซปุ ไก่สกดั รังนก และการใชส้ ขี าวหรือสชี มพู
ที่แสดงความเปน็ ผหู้ ญงิ แสดงถงึ ความนมุ่ นวล ออ่ นโยน ในขวดครีมนวดผม เปน็ ต้น
ส่งิ ที่ส�ำคัญ คือ ผ้อู อกแบบตอ้ งออกแบบสีในภาพรวมใหส้ อดคล้องกันทงั้ บรรจภุ ณั ฑ์ ตงั้ แตส่ ขี อง
ฉลาก สขี องฝาปิดและสขี องวสั ดุบรรจุภณั ฑ์ จึงจะใหข้ วดท่ดี ีตามต้องการ
ก. ข. ค.
ภาพท่ี 11.33 ขวดท่ีมีฉลากสีต่าง ๆ
ก. ขวดที่มีฉลากสีโทนเย็น
ข. ขวดที่มีฉลากสีโทนร้อน และ
ค. ขวดที่มีฉลากสีที่แสดงความเป็นหญิง
กล่าวโดยสรุป การออกแบบกราฟิกบนขวด มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ข้อมูลและเกิดความสวยงาม
ดึงดูดใจ เพ่ือน�ำไปสู่การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ ซ่ึงองค์ประกอบกราฟิกบนขวดที่ส�ำคัญ ได้แก่ ตัวอักษร
ภาพประกอบ และสี โดยแตล่ ะองคป์ ระกอบจะตอ้ งมีความสอดคล้องกันเพอ่ื ใหบ้ รรจภุ ณั ฑ์สามารถส่ือสาร
ขอ้ มูลแกผ่ ู้บรโิ ภคไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์
97318-11 ครัง้ ท่ี 4 (11.05.58) M-6-i6 ai (19-2/57)-ZA