Page 63 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 63
เซร าม ิกและแ ก้ว 7-53
4. การขน้ึ รปู
การข ึน้ ร ปู (forming) เปน็ ช ว่ งส ดุ ทา้ ยท ปี่ รบั ร ปู ร า่ งข องแ กว้ ต ามร ปู ร า่ งข องผ ลติ ภณั ฑ์ โดยน ํา้ แ กว้ จ ากเตาห ลอม
ไหลจากรางนํ้าแก้วผ่านไปยังเครื่องขึ้นรูป ที่ต้องผ่านส่วนป้อนที่มีระบบกรรไกรเพื่อตัดนํ้าแก้วให้เป็นก้อนๆ เรียกว่า
ก้อนแ ก้ว (gob) ที่สามารถควบคุมน ํ้าหนักและขนาดของก ้อนแก้ว ที่ส ัมพันธ์ก ับขนาดแ ละรูปท รงของข วดท ี่ต้องการ
เครื่องขึ้นรูปอัตโนมัติ ที่นิยมใช้ คือ เครื่องขึ้นรูปไอเอส (I.S. machine) หรือในปัจจุบันมักหมายถึง
individual section machine ซึ่งเดิมมีที่มาจาก Ingersall and Smith ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องขึ้นรูปดังกล่าว
เครื่องขึ้นรูปอัตโนมัติมีลักษณะเป็นกลุ่มของเครื่องที่ทำ�หน้าที่ต่างกันมาร่วมกันทำ�งานอย่างต่อเนื่อง เช่น 4-8 ชุด
เป็นต้น เพื่อขึ้นร ูปผ ลิตภัณฑ์แก้วห รือบ รรจุภ ัณฑ์แก้วอื่นๆ ตามแ บบที่ก ำ�หนดจ ากก ารอ อกแบบร ่วมกันระหว่างล ูกค้า
กับทางโรงงานผู้ผลิต เพื่อให้เหมาะสมกับความสามารถในการผลิตขึ้นรูป การขึ้นรูปมี 2 วิธี คือ ระบบเป่าและเป่า
และระบบกดและเป่า
4.1 ระบบเปา่ แ ละเป่าห รือการเปา่ 2 คร้งั (blow and blow process) คือ การขึ้นรูปด ้านปากก่อน แล้วจึงมาขึ้น
รูปด ้านล ำ�ตัวอ ีกค รั้ง โดยก ารใช้ล มเป่าในก ารข ึ้นร ูป ผลิตภัณฑ์แ ก้วที่ผ ลิตด ้วยร ะบบน ี้ส ่วนใหญ่จ ะเป็นผ ลิตภัณฑ์ช นิด
ปากแคบ (narrow neck) เช่น ขวดน ํ้าอ ัดลม
หลักก ารขึ้นรูปโดยใช้ 7 จังหวะ คือ
จังหวะท ี่ 1 หยอดนํ้าแก้วเข้าแบลงก์โมลด์ (blank mould) ซึ่งทำ�หน้าที่ขึ้นรูปร่างให้ใกล้เคียงกับรูป
ร่างที่ต ้องการ (pre-shape) หรือเรียกกันในวงการแ ก้วว่า พาร ิสัน (parision)
จังหวะที่ 2 เป็นจังหวะของการเป่าลมด้วยหัวลมเป่าขณะที่นํ้าแก้วยังร้อนอยู่ เป่าขึ้นรูปปากขวดใน
จังหวะที่ 2 นี้ ต้องพ ยายามใช้เวลาให้น ้อยที่สุด มิฉะนั้นก้อนน ํ้าแก้วจะเย็นต ัวแ ละทำ�ให้เกิดค ลื่นบนผ ิวของแ ก้ว
จังหวะที่ 3 จังหวะเป่าเพื่อทำ�พาร ิส ัน จังหวะนี้เป็นการเป่านำ�เพื่อท ำ�ให้น ํ้าแ ก้วเป็นทรงก ลวงภายใน
จังหวะท ี่ 4 เปลี่ยนโมลด์ จังหวะน ี้แ บล งก์โมลด์ท ั้งส องข ้างเปิดอ อกจ ากก ันเพื่อย ้ายพาร ิส ันไปย ังโบลว์
โมลด์ (blow mould) ซึ่งมีหน้าที่ข ึ้นร ูปร ่างส ำ�เร็จ (final shape) ตามแ บบที่ต ้องการ
จังหวะท ี่ 5 เพิ่มความร้อน เนื่องจากในจังหวะ 4 พาริสันเย็นตัวลงขณะที่แบลงก์โมลด์เปิดออกจึง
จำ�เป็นต ้องรักษาสมดุลข องค วามร้อนในเนื้อแ ก้วเพื่อช ่วยให้การเป่าส ำ�เร็จเป็นไปตามที่ต้องการ
จังหวะท ี่ 6 เป่าพาร ิส ันให้เป็นไปตามโบลว์โมลด์
จังหวะที่ 7 นำ�ขวดออก จังหวะนี้ มีการนำ�ขวดเข้าเตาอบเพื่อลดอุณหภูมิภายในขวดลงอย่าง
สมํ่าเสมอ