Page 77 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 77

เซ​ราม​ ิก​และแ​ ก้ว 7-67
แน่นอน โดยว​ ีธี sink float method โดยป​ ล่อยใ​หช้​ ิ้นต​ ัวอย่างแ​ ละต​ ัวอย่างแ​ ก้วม​ าตรฐานล​ อยใ​นห​ ลอดท​ ดสอบท​ ีบ่​ รรจ​ุ
สารละลาย​ที่​ทราบค​ ่าค​ วาม​หนาแ​ น่นก่อนจ​ ุ่ม​หลอดท​ ดสอบ​ลง​ใน​อ่าง​ควบคุม​อุณหภูมิ จากนั้นเพิ่มอ​ ุณหภูมิ จน​กระทั่ง​
ชิ้นต​ ัวอย่างจ​ ม​หรืออ​ ยู่น​ ิ่ง สารละลาย​ที่​นิยม​ใช้ได้แ​ ก่ โบร​โม​เบนซ​ ีน​ผสม​กับ​โบร​โม​ฟอร์ม

            8.2.12		การ​ตรวจ​สอบ​สาร​เคลือบ​ขณะ​ร้อน (hot end coating) ด้วย​เครอ่ื ง​ตรวจ​สอบ​ความ​หนา​ของ​ชัน้ ​
สาร​เคลอื บ (coating thickness test) ของข​ วดแ​ กว้ ทำ�​โดยว​ ัดค​ วาม​ต้านทานก​ ารข​ ีด​ข่วน (scratch resistance test)
โดย​ขวด​แก้ว​ที่​ผ่าน​การ​เคลือบ​ผิว​จะ​หมุน​อยู่​บน​แป้น​หมุน และ​มี​เข็ม​ที่​ปลาย​ทำ�​ด้วย​เพชร​กด​ให้​ลึก​ลง​ไป​เรื่อยๆ ของ​
ผิว​เคลือบ เมื่อ​ขวด​หมุน​ไป จะ​เห็น​ว่า​มี​ค่าแรง​ต้าน​เพิ่ม​ขึ้น​เรื่อยๆ จน​กระทั่ง​ถึง​ผิว​ขวด จะ​พบ​ว่า ค่าแรง​ต้าน​จะ​เพิ่ม​
สูง​ขึ้นม​ าก จึงส​ ามารถ​บอก​ได้ท​ ั้ง​ความ​หนาข​ องช​ ั้นเ​คลือบ และค​ วาม​ต้านทาน​การ​ขีด​ข่วนข​ อง​ขวด ถ้าม​ ี​การเ​คลือบ​ผิว​
ไม่​ดี ผิว​เคลือบ​จะล​ อก​ขณะเ​กิดก​ ารท​ ดสอบ (ภาพ​ที่ 7.56 ก.)

            8.2.13		การ​ตรวจ​สอบส​ ารเ​คลือบ​ขณะ​ท่เ​ี ย็น (cold end coating) ดว้ ยเ​ครือ่ ง​ตรวจส​ อบค​ วาม​ล่ืนข​ อง​ผิว​
นอก​ช้ัน​สาร​เคลือบ (lubricity test) โดย​การ​วัด​ค่า​สัมประสิทธิ์​แรง​เสียด​ทาน​เมื่อ​หยุด​นิ่ง (COF) หรือ​มุม​เอียง (Tilt
angle) ด้วยก​ ารใ​ชโ้​ต๊ะเ​อียง (Tilt table) ทำ�การท​ ดสอบโ​ดยก​ ารว​ างข​ วด 3 ขวดเ​รียงซ​ ้อนก​ ันใ​นล​ ักษณะเ​หม​ ือน​ พีระมิด
เมื่อเ​ปิดส​ ว​ ิตช์ โต๊ะ​จะเ​อียง​ขึ้นด​ ้วยอ​ ัตรา 3.6 องศา​ต่อว​ ินาที เมื่อ​มุมส​ ูงม​ าก​พอ ขวด​แก้วด​ ้านบ​ นจ​ ะเ​ริ่มเ​คลื่อนที่ บันทึก​
ค่าม​ ุมเ​อียง หรือค​ ่า COF ที่​ได้ (ภาพ​ที่ 7.56 ข.)

	 ก. 	 ข.
          ภาพท​ ี่ 7.56 ก. การต​ รวจ​สอบส​ ารเ​คลือบ​ผวิ ​ขณะร​ ้อน และ ข. การ​ตรวจ​สอบ​สารเ​คลอื บข​ ณะ​เย็นด​ ้วย
            8.2.14		การ​ตรวจ​สอบ​ส่วน​ประกอบ​ของ​แก้ว​หรือ​ส่วน​ผสม​ของ​แก้ว​ด้วย​เคร่ือง X-ray diffraction ใช้​

ส่อง​ดูส​ ่วน​ประกอบ​หรือ​โครงสร้าง​เนื้อ​แก้ว
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82