Page 35 - โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
P. 35

การวัดประสิทธิภาพและความซับซ้อนของขั้นตอนวิธี 2-25

ตอน​ที่ 2.2
การว​ ิเคราะหข​์ ัน้ ​ตอน​วิธี

โปรดอ​ ่านห​ ัว​เร่ือง แนวคิด และ​วัตถุประสงค์ข​ อง​ตอนท​ ่ี 2.2 แล้วจ​ ึง​ศึกษา​ราย​ละเอียดต​ ่อ​ไป

  หวั เ​ร่อื ง

         2.2.1		การว​ ิเคราะห์​ประสิทธิภาพข​ องข​ ้ันต​ อนว​ ิธี
         2.2.2		การเ​ปรียบ​เทียบ​ประสิทธิภาพข​ องข​ ้ันต​ อน​วิธี

  แนวคิด

         1.	 ประสิทธิภาพ​ของ​ขั้น​ตอน​วิธี​สามารถ​ประมาณ​ได้​จาก​เวลา​ท่ี​ใช้​ประมวล​ผล​ของ​ขั้น​ตอน​วิธี​นั้น ซ่ึง​
            สามารถ​ประมาณ​ได​โ้ ดย​การ​นบั ​จ�ำนวน​ตวั ​ด�ำเนนิ ​การ​ทใ​ี่ ช​ใ้ น​ขนั้ ​ตอน​วธิ ี โดย​คดิ ​วา่ ​แตล่ ะ​ตวั ​ด�ำเนนิ การ ​
            ใช้​เวลา​ไป​หนึ่ง​หน่วย​เวลา​เท่า​กัน เวลา​ท่ี​ใช้​ประมวล​ผล​สามารถ​เขียน​ให้​อยู่​ใน​รูป​ของ​ฟังก์ชัน​เวลา
            T(n) ท่ี​ขึ้น​อยู่​กับ​ขนาด​ข้อมูล n ได้ และ​การ​ประ​มาณ​บิ๊ก​โอ​ของ​ฟังก์ชัน​เวลา​นี้​เป็นการ​ตรวจ​สอบ​
            ประสิทธิภาพ​ของข​ ั้นต​ อนว​ ิธี

         2.	 ก าร​เปรียบ​เทียบ​ประสิทธิภาพ​ของ​ขั้น​ตอน​วิธี​ต่างๆ ที่​สามารถ​แก้​ปัญหา​เดียวกัน​ได้ อาศัย​การ​
            พิจารณา​และ​เปรียบ​เทียบ​บิ๊ก​โอ​ของ​แต่ละ​ขั้น​ตอน​วิธี​เพ่ือ​การ​เปรียบ​เทียบ​การ​เติบโต​ของ​ฟังก์ชัน​
            เวลา ท�ำให้​ทราบ​ว่า​ขั้น​ตอน​วิธี​ไหน​ท�ำงาน​ได้​มี​ประสิทธิภาพ​ดี​กว่า​ใน​แง่​ของ​ความเร็ว​เมื่อ​ข้อมูล
            ม​ ีข​ นาดใ​หญ่

  วัตถปุ ระสงค์

         เม่ือศ​ ึกษา​ตอน​ที่ 2.2 จบแ​ ล้ว นักศึกษา​สามารถ
         1.	 ประมาณฟ​ ังก์ชันเ​วลา T(n) ของ​ข้ันต​ อนว​ ิธี​ท่ี​ก�ำหนดใ​ห้ไ​ด้
         2.	 ประมาณป​ ระสิทธิภาพ​ของ​ขั้นต​ อนว​ ิธีท​ ่ีก​ �ำหนดใ​ห้ใ​นร​ ูป​ บิ๊กโ​อ​ได้
         3.	 เปรียบ​เทียบป​ ระสิทธิภาพ​ของข​ ั้น​ตอน​วิธีต​ ่างๆ ได้
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40