Page 16 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 16
11-6 สถาปัตยกรรมค อมพิวเตอร์แ ละระบบป ฏิบัติการ
ตวั อยา่ งท ่ี 1 กำ�หนดใหม้ โีพรเซส ถ กู ส ง่ ม าป ระมวลผ ล เวลา 0 นาฬิกา จ�ำ นวน 3 โพรเซส ได้แก่ โพรเซส A B และ
C โดยแ ต่ละโพรเซสต ้องการระยะเวลาเข้าใช้ซ ีพียู (CPU-burst time) หน่วยเป็นมิลลิวินาที (1 ในพันวินาที) ดังนี้
โพรเซส ระยะเวลาเข้าใชซ้ พี ยี ู (มลิ ลวิ นิ าที)
A 23
B 4
C 4
ดังนั้น ทั้งสามโพรเซสจะถูกนำ�มาเก็บใน Ready queue ตามลำ�ดับคือ A B และ C เมื่อเริ่มประมวลผล
โพรเซสทั้งสามจะถูกป ระมวลผ ลตามล ำ�ดับดังภ าพท ี่ 11.1 ดังนี้
โพรเซส waiting in ready queue running
C
B waiting in ready queue running
running
A
เวลา (มิลลิวินาที)
23 27 31
ภาพที่ 11.1 การจ ดั เวลาซพี ยี วู ิธีม าก ่อนได้กอ่ น ของโพรเซส A B และ C ตามล�ำ ดบั
จากภ าพที่ 11.1 เห็นได้ว ่า
- โพรเซส A เข้ามาใน ready queue เป็นลำ�ดับแรก ดังนั้น จึงได้ครอบครองซีพียูเพื่อประมวลผลทันที
ใช้เวลาทั้งส ิ้น 23 มิลลิวินาทีจ ึงป ระมวลผ ลเสร็จ
- ต่อจ ากน ั้นโพรเซส B ได้ครอบค รองซ ีพียูเป็นล ำ�ดับต่อมา โดยต้องรอโพรเซส A ประมวลผลจนเสร็จก ่อน
โพรเซส B ใชเ้วลาร อค อยน านถ ึง 23 มลิ ลวิ นิ าท ี จึงไดเ้ ขา้ ใชซ้ พี ียแู ละใชเ้วลาป ระมวลผ ลง าน 4 มลิ ลวิ นิ าทจี งึ ป ระมวลผ ล
เสร็จ ดังนั้น เวลาครบรอบงานของโพรเซส B คือเวลารอคอยการใช้ซีพียูของโพรเซส A เป็นเวลา 23 มิลลิวินาที
บวกด้วยเวลาท ี่เข้าใช้ซ ีพียูข องโพรเซส B เป็นเวลา 4 มิลลิวินาที รวมเวลาค รบรอบงานทั้งส ิ้นเท่ากับ 23 + 4 = 27 มิลลิ
วินาที
- โพรเซส C ได้เข้าใช้ซีพียูเป็นลำ�ดับส ุดท้าย โดยต ้องรอคอยก ารใช้ซ ีพียูของโพรเซส A และ โพรเซส B เสร็จ
สิ้นก่อนจึงได้เข้าใช้ซีพียู เวลาร อคอยข องโพรเซส C เป็นระยะเวลาเท่ากับ 23 + 4 = 27 มิลลิว ินาที และใช้เวลาในก าร
ประมวลผลโพรเซส C เป็นเวลา 4 มิลลิว ินาที ดังน ั้น เวลาค รบร อบงานของโพรเซส C คือเวลาร อค อยการใช้ซีพียูข อง
โพรเซส A และโพรเซส B บวกด ้วยเวลาเข้าใช้ซีพียูของโพรเซส C รวมเวลาค รบรอบงานของโพรเซส C เท่ากับ 27 + 4
= 31 มิลลิวินาทีสรุปค่า เวลารอคอย และเวลาครบรอบงาน ได้ดังนี้