Page 74 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 74
11-64 สถาปัตยกรรมค อมพิวเตอร์และร ะบบป ฏิบัติการ
ตัวอย่างที่ 3 พิจารณากราฟจัดสรรทรัพยากร (resource-allocation-graph algorithm) ของระบบ
คอมพิวเตอร์ต่อไปน ี้
R1 R1
P1 P2 P1 P2
R2 R2
(a) (b)
ภาพท่ี 11.34 ก ราฟจดั สรรท รพั ยากรของโพรเซส P1 และ P2
ทม่ี า: http://www.cs.odu.edu/~cs471w/spring11/lectures/Deadlocks.htm ค้นคืนวันที่ 26 มกราคม 2556
สมมติว ่า ร ะบบคอมพิวเตอร์ร ะบบหนึ่ง ณ เวลา 0 วินาที สามารถสร้างกราฟจ ัดสรรท รัพยากรเป็นดังภ าพที่
11.34 (a) ในเวลาต ่อมา โพรเซส P2 ร้องขอท รัพยากร R2 ระบบจะไม่อนุมัติการร้องขอด ังกล่าว ถึงแ ม้ว่าทรัพยากร R2
จะว ่างอ ยู่ก็ตาม เพราะว่าถ้าระบบอนุมัติ การร ้องขอดังกล่าวแ ล้ว เส้นถ ือครอง R2 P2 จะก ่อให้เกิดว งจรในก ราฟ
การจ ัดสรรทรัพยากร ดังภ าพที่ 11.34 (b) ซึ่งจ ะทำ�ให้ระบบอยู่ในสถานะไม่ปลอดภัย
4. การสบื คน้ ก ารติดต าย
วิธีการจัดการการติดตายโดยกำ�หนดกฎเกณฑ์ในการใช้ทรัพยากร เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการ
ติดต ายท ี่ก ล่าวม าน ั้นส ่งผ ลให้ร ะบบท ำ�งานอ ย่างไม่เต็มป ระสิทธิภาพเป็นการจ ำ�กัดส ิทธิในก ารใช้ท รัพยากรข องโพรเซส
แต่วิธีการจัดการการติดตายโดยวิธีการสืบค้นการติดตาย (deadlock detection) เป็นวิธีการที่ไม่จำ�กัดสิทธิหรือ
ข ้อห ้ามในการใช้ง านท รัพยากรของโพรเซส
วิธกี ารน ีโ้พรเซสท ีร่ ้องขอท รัพยากรจ ะไดร้ ับท รัพยากรท ีต่ ้องการ แตร่ ะบบม วี ิธกี ารต รวจส อบท ีส่ ามารถค ้นพ บ
วงจรรอคอยที่อาจเกิดขึ้นในระบบได้ และเมื่อตรวจสอบพบระบบจะทำ�การแก้ไขหรือกู้คืนให้อยู่ในสภาวะปกติ
การตรวจหาวงจรรอคอยของวิธีการนี้ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยคือ ความถี่ของการเกิดวงจรรอคอยในระบบและจำ�นวน
โพรเซสท ตี่ ิดอ ยูใ่นว งจรร อค อย ซึง่ ก ารร ้องขอข องโพรเซส แ ต่ละค รั้งส ามารถท ำ�ใหเ้กดิ ว งจรร อค อยไดพ้ รอ้ ม ๆ กนั ห ลาย
วงจรได้ แต่การตรวจหาว งจรร อค อยบ ่อยเกินไปย่อมท ำ�ให้เสียเวลามาก โดยปกติร ะบบส ามารถต รวจหาวงจรร อค อย
ได้ทุก ๆ 1 ชั่วโมง หรือเมื่อประสิทธิผลข องก ารใช้ซ ีพียูลดตํ่าก ว่า 40%