Page 34 - กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป
P. 34

34

    แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 7

วัตถุประสงค์	 เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การพยายามกระทำ�ความผิด”
คำ�แนะนำ�	 ขอให้นักศึกษาอ่านคำ�ถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคำ�ตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. 	 การที่ผู้กระทำ�ได้ลงมือกระทำ�ความผิดแล้ว แต่กระทำ�       5. 	 ด�ำ ตอ้ งการฆา่ แดง จงึ ยงิ ปนื เขา้ ไปในบา้ นเชา่ ตรงบรเิ วณ
   ไปไม่ตลอดหรือกระทำ�ไปตลอดแล้วแต่ไม่บรรลุผล                    ที่แดงเคยนอนอยู่ แต่แท้จริงแดงได้ย้ายไปรับราชการ
   ผู้กระทำ�จะต้องรับผิดหรือไม่ อย่างไร                          ที่จังหวัดอื่นนานแล้ว ดำ�ผิดฐานใด
   ก. 	 ไม่ต้องรับผิด เพราะยังไม่เกิดผล                          ก. 	 ไมม่ คี วามผดิ เพราะไมม่ ที างบรรลผุ ลไดอ้ ยา่ งแนแ่ ท้
   ข. 	 รับผิดฐานพยายาม                                          ข. 	 ไม่มีความผิดเพราะขาดองค์ประกอบ
   ค. 	 รับผิดสำ�เร็จ                                            ค. 	 พยายามฆ่าผู้อื่นโดยไม่สามารถบรรลุผลได้อย่าง
   ง. 	 รับผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ                                       แน่แท้เพราะวัตถุที่มุ่งกระทำ�ต่อ
   จ. 	 รับผิดแต่ได้รับการลดหย่อนผ่อนโทษ                         ง. 	 พยายามฆ่าผู้อื่น โดยไม่สามารถบรรลุได้อย่าง
                                                                     แน่แท้ เพราะปัจจัยที่ใช้ในการกระทำ�
2. 	 การพยายามกระทำ�ความผิดหมายความว่าอย่างไร                    จ. 	 พยายามฆ่าผู้อื่นโดยไม่สามารถบรรลุผลโดย
   ก. 	 คิดและเตรียมจะลงมือกระทำ�                                    บังเอิญ
   ข. 	 ลงมือกระทำ�แล้ว แต่การกระทำ�นั้นไม่บรรลุผล
   ค. 	 กระทำ�ไปตลอดแล้ว และได้ผลสมเจตนา                      6. 	 ในปัจจุบันนี้ศาลฎีกาของไทยใช้หลักอะไรในการ
   ง. 	 สมคบกับผู้อื่นกระทำ�ความผิด                              วินิจฉัยปัญหาเรื่องการลงมือกระทำ�ความผิด
   จ. 	 เจตนากระทำ�แต่ยังมิได้ลงมือกระทำ�                        ก. 	 หลักความใกล้ชิดต่อผล
                                                                 ข. 	 หลักความไม่คลุมเครือ
3. 	 การกระทำ�ที่ขาดองค์ประกอบของความผิด ถือว่า                  ค. 	 หลักการกระทำ�ขั้นตอนที่สำ�คัญ
   อย่างไร                                                       ง. 	 หลักการกระทำ�กรรมเดียวหลายกรรม
   ก. 	 เป็นความผิดที่เป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้                    จ. 	 หลักความเป็นภยันตรายของการกระทำ�นั้น
   ข. 	 เป็นการพยายามกระทำ�ความผิด
   ค. 	 เป็นความผิดสำ�เร็จ                                    7. 	 ข้อใดถือว่าเป็นการยับยั้งเสียเอง อันมีผลให้ผู้กระทำ�
   ง. 	 เป็นความผิดแต่ได้รับยกเว้นโทษ                            ไม่ต้องรับโทษสำ�หรับการพยายามกระทำ�ความผิดนั้น
   จ. 	 ไม่เป็นความผิดตามกฎหมาย                                  ก. 	 ติ่งกำ�ลังยกปืนขึ้นเล็งจะยิงตุ้ม พอดีได้ยินเสียง
                                                                     กรอกแกรกคิดว่าตำ�รวจมาจึงยับยั้งไม่ยิง
4. 	 กรณีใดบุคคลไม่ต้องรับโทษฐานพยายามกระทำ�                     ข. 	 น้อยใช้ปืนยิงนิดไปหนึ่งนัดโดยเจตนาฆ่า นิดยัง
   ความผิด                                                           ไม่ตาย กระสุนเหลืออีก 4 นัด น้อยคิดว่านิด
   ก. 	 ผู้กระทำ�เป็นผู้โฉดเขลาเบาปัญญา                              ตายแล้ว จึงยับยั้งไม่ยิงซํ้า
   ข. 	 ผู้กระทำ�เคยมีคุณงามความดีมาก่อน                         ค. 	 ปุ้มยกปืนขึ้นเล็งจะยิงป้อม แต่คิดถึงลูกของป้อม
   ค. 	 ผู้กระทำ�ยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขมิให้การกระทำ�                จะต้องกำ�พร้า เกิดสงสารจึงยับยั้งไม่ยิง
       ของตนบรรลุผล                                              ง. 	 พุ่มใช้ปืนยิงพ่วง แต่พ่วงเป็นคนหลบเก่ง พุ่มยิง
   ง. 	 ผู้กระท�ำ ใหค้ วามรูแ้ ก่ศาลอนั เปน็ ประโยชน์แกก่ าร         อยู่หลายครั้ง แต่พ่วงก็หลบได้ทุกครั้ง พุ่มจึง
       พิจารณา                                                       ยับยั้งไม่ยิงต่อ
   จ. 	 ผู้กระทำ�ลงมือกระทำ�ผิดแล้วแต่ไม่บรรลุผลอย่าง            จ.	 จอยยกปนื แลง็ จะยงิ ตนู แตจ่ อ้ ยมาปดั ปนื เสยี กอ่ น
       แน่แท้                                                        จอยจึงยับยั้งไม่ยิงต่อ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39