Page 43 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 43

เทคโนโลยีวีดิทัศน์ 7-33

       จากปัญหาที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีการแสดงภาพบนจอ CRT มีข้อจำ�กัดบางประการ จึง
จ�ำ เปน็ ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยกี ารแสดงภาพแบบใหม่ ซึง่ แสดงภาพบนจอแบน (flat panel display) เชน่ จอแอลซดี ี (liquid
crystal display: LCD) และจอพลาสม่า (plasma) เป็นต้น

       6.1 	จอแอลซีดี มีลักษณะบางและนํ้าหนักเบา สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย เมื่อเปรียบเทียบกับจอ CRT และ
จอ LCD มีชั้นของผลึกเหลว (liquid crystal) ทั้งนี้ ผลึกเหลวไม่ได้ทำ�หน้าที่ปล่อยแสงโดยตรง และผลึกเหลวเหล่า
นี้มีคุณสมบัติการเรียงตัวของอะตอมในแนวระนาบที่เป็นระเบียบ (crystalline) และชั้นของผลึกเหลวจะถูกประกบ
หน้าหลังด้วยแผน่ บางซึง่ น�ำ ไฟฟ้าได้ แผ่นหนา้ มีอิเล็กโทรดที่โปรง่ ใสซึ่งฉาบไวบ้ นแผ่น และแผ่นหลังทีม่ คี ุณสมบัตเิ ปน็
ตัวสะท้อนแสง (reflector) เมื่อทำ�การผ่านกระแสไฟฟ้าจากแผ่นหน้าไปยังแผ่นหลัง ส่วนต่าง ๆ ของผลึกเหลวจะถูก
กระตุน้ ใหม้ ปี ฏกิ ริ ยิ าตอบสนอง จนสามารถท�ำ ใหอ้ ะตอมของผลกึ เหลวเรยี งตวั ในลกั ษณะขบวนแถวล�ำ ดบั (array) หนา้
แผ่นสะท้อนแสง การเรียงตัวของอะตอมในผลึกเหลวที่มีรูปแบบแตกต่างกันนี้เอง ที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ระดับการแพร่แสงสว่าง ภาพสีจะถูกสร้างขึน้ เมื่อแสงผ่านสว่ นตา่ ง ๆ ของผลึกเหลว ซึง่ ผลกึ เหลวแต่ละบรเิ วณจะมกี าร
เรียงตัวของอะตอมที่แตกต่างกัน ทำ�ให้ผลึกเหลวบางผลึกจะนำ�พาแสง ขณะที่บางผลึกจะปิดกั้นแสง ทำ�ให้แสงที่แพร่
ออกมาไม่สมํ่าเสมอกันจนเกิดเป็นแสงสีอันหลากหลาย จากนั้นจะทำ�การสะท้อนแสงสีจากแผ่นหลังกลับไปยังผู้รับชม

       โดยปกติ จอ LCD จะมคี วามละเอียดของจอภาพสูงกว่าจอ CRT และยังสิ้นเปลอื งพลังงานน้อยกวา่ จอ CRT
ด้วย การบริโภคพลังงานไฟฟ้าตํ่า ทำ�ให้จอ LCD เหมาะสมที่จะใช้งานกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้พลังงานจาก
แบตเตอรีแบบพกพาได้ จึงสังเกตได้ว่า ในยุคปัจจุบันนี้ มีการนำ�จอ LCD ไปเป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด เช่น นาฬิกา เครื่องคิดเลข จอมอนิเตอร์ของคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (notebook computer)
โทรทัศน์ จอควบคุมการบินบนเครื่องบิน โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกม เป็นต้น

       6.2 	จอพลาสม่า ประกอบไปด้วยแผ่นบางเรียบที่ทำ�จากแก้วจำ�นวนสองแผ่น ซึ่งระหว่างแผ่นแก้วมีช่อง
ว่างบาง ๆ ซึ่งถูกเติมด้วยก๊าซนีออน (neon, Ne) หรือก๊าซที่ผสมระหว่างก๊าซซีนอน (xenon, Xe) และก๊าซเฉื่อย
อื่น ๆ (inert gas) เทคโนโลยีจอ plasma ได้ใช้ประโยชน์จากมวลย่อยขนาดเล็กของก๊าซที่ผ่านกระบวนการ
ionization ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำ�ให้อะตอมหรือโมเลกุลมีประจุไฟฟ้าสุทธิเป็นบวกหรือลบ โดยใช้การเพิ่มหรือลด
อิเล็กตรอน ส่งผลให้มวลย่อยของก๊าซมีการชาร์จประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น

       แผ่นแก้วทั้งสองของจอ plasma จะมีคู่อิเล็กโทรดซึ่งอยู่ขนานกัน กล่าวคือขั้วไฟฟ้าอิเล็กโทรดซึ่งอยู่บนแผ่น
ที่หนึง่ จับคู่กบั ขั้วไฟฟ้าอิเล็กโทรดอีกขัว้ หนึ่งที่อยู่บนแผ่นที่สอง ทั้งนี้ มีคู่อิเล็กโทรดอยู่บนแผ่นแก้วทัง้ สองจำ�นวนมาก
และในแต่ละคู่อิเล็กโทรด อิเล็กโทรดบนสองแผ่นต้องทำ�มุมที่เหมาะสมต่อกันด้วย เมื่อเกิดแรงดันไฟฟ้าระหว่างคู่
อิเล็กโทรด ประจุไฟฟ้าจากอิเล็กโทรดบนแผ่นที่หนึ่ง ถูกส่งผ่านไปยังอิเล็กโทรดบนแผ่นที่สองเป็นสาเหตุให้มวลย่อย
ของกา๊ ซทีอ่ ยูร่ ะหวา่ งอเิ ลก็ โทรดทัง้ สองเปลง่ แสงสอี อกมากลา่ วคอื มวลยอ่ ยของกา๊ ซถกู กระตุน้ ดว้ ยแรงดนั ไฟฟา้ ท�ำ ให้
เกดิ กระบวนการไอออไนเซชนั (ionization) ขนึ้ ท�ำ ใหก้ า๊ ซแตกประจแุ ละปลอ่ ยแสงอลั ตราไวโอเลตออกมา สารเรอื งแสง
จะดูดซับแสงอัลตราไวโอเลตและสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทำ�ให้เกิดเป็นภาพสีได้ และถ้าต้องการรักษาระดับการ
เปล่งแสงสีของมวลย่อยของก๊าซ จะต้องมีแรงดันไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดทั้งสองอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้ ในการแสดง
ภาพบนจอ plasma จะต้องมีการเปล่งแสงสีตลอดทั่วทั้งแผ่นแก้ว ดังนั้นทุกคู่อิเล็กโทรดจะต้องมีประจุไฟฟ้ามา
หล่อเลี้ยง ในกรณีที่ไม่มีความต่างศักย์ระหว่างสองอิเล็กโทรด จะทำ�ให้แรงดันไฟฟ้าหายไป แล้วมวลย่อยของก๊าซจะ
หยุดการเปล่งแสงสี

       โดยปกติ การแสดงภาพบนจอ plasma เปน็ การแสดงสญั ญาณภาพบนจอทีม่ ขี นาดตัง้ แต่ 30 นิว้ ขึน้ ไป จนถงึ
60 นิ้ว ถ้าหากต้องการแสดงภาพบนจอที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 นิ้ว ควรใช้อุปกรณ์โปรเจคเตอร์ (projector) การแสดง
ภาพบนจอ plasma ใช้ช่วงของสีกว้าง และควรแสดงภาพในสภาพแวดล้อมที่มีระดับการส่องสว่างตํ่า เช่นแสดงภาพ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48